Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยสร้างมดกลายพันธุ์ครั้งแรกในโลก จากมดงานรวมพลัง กลายเป็นแยกตัวเมินสังคม  

     วอชิงตันโพสต์รายงานว่าทีมงานวิจัยอิสระ สร้างกลุ่มมดกลายพันธุ์ชุดแรกในโลก ด้วยการใช้เทคโนโลยีตัดแต่งยีนในโครโมโซม หรือ CRISPR
     ผลงานดังกล่าวนี้ นายโคล้ด เดสแพลน นักชีววิทยาจาก  มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก เล่าว่างานวิจัยของทีมตนได้สร้างมดกลายพันธุ์ขึ้นครั้งแรกในสังคมแมลง โดยมดที่เลือกมาศึกษาเป็นมดพันธุ์กระโดดจากอินเดีย ที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า  Harpegnathos saltator  (ฮาร์เปฟนาโธส ซาลตาเตอร์) โดยปกติแล้วมดมีความแตกต่างและซับซ้อนในบทบาทและหน้าที่ของมัน แม้ว่ามดทุกตัวจะมีความเกี่ยวดองกันเป็นญาติและทำอะไรคล้ายๆ กัน
     มดเพศเมียอาจจะทำหน้าที่เป็นราชินีวางไข่หรือเป็นมดงาน มดทำความสะอาดรัง หรือมดที่ทำหน้าที่ป้องกันรังก็ได้ ส่วนมดเพศผู้ที่มีความแตกต่างนิดหน่อยตรงที่มีระบบส่งถ่ายสเปิร์มด้วยปีกที่จะงอกขึ้นมาเป็นครั้งคราวตามฤดูกาล
     เพื่อให้แน่ใจว่ายีนส์กลายพันธุ์จะเกิดขึ้น นายเดสแพลนระบุว่าต้องทำผ่านราชินีมด ซึ่งไม่ง่ายนักที่สร้างราชินีมดขึ้นมาการศึกษาชิ้นนี้ที่เลือกมดสายพันธุ์กระโดดเนื่องจากทุกตัวแพร่พันธุ์ได้ ซึ่งก่อนวางไข่ มดงานหลายตัวต้องทำหน้าที่ราชินีมดจำแลง และหากรังมดขาดราชินีตัวจริง บรรดามดงานก็จะดวลกันตัวต่อตัวโดยใช้หนวดที่ติดอยู่บนหัวสู้กัน ซึ่งใครชนะจะได้เป็นราชินีจำแลงการศึกษาครั้งนี้ทีมงานได้ใช้เทคนิคซีอาร์ไอเอสพีอาร์-ซีเอเอส 9 (CRISPR-Cas9) ใส่โมเลกุลแบคทีเรียเข้าไปทำหน้าที่ตัดยีนในโครโซมตัวรับฟีโรโมนส์ออก มดมักจะใช้ฟีโรโมนส์ในการสื่อสารระหว่างกัน รวมไปถึงใช้เป็นเส้นทางสำหรับให้ตัวอื่นเดินตาม
ตัวรับฟิโรโมนส์ที่ตัดออกไปเรียกออร์โก (Orco) ทำให้มดที่ถูกแปลงยีนขาดการรับรู้กลิ่นไปถึงร้อยละ 90จากนั้นทดสอบกับมดจู่โจม (Raider ant) โดยใส่ทั้งมดที่ไม่กลายพันธุ์และกลายพันธุ์ลงไปในกล่องที่มีการตีเส้นเป็นตารางด้วยปากกาไวต์บอร์ด ปรากฎว่ามดตัวที่มียีนส์กลายพันธุ์จงใจเดินข้ามรอยปากกา ส่วนตัวที่ไม่กลายพันธุ์กลับเดินวนเวียนไม่กล้าข้ามเส้นเนื่องจากปากกามีกลิ่นรุนแรง
นายเดเนียล โครเนาเออร์ นักชีววิทยาในทีมเดียวกันนี้จากมหาวิทยาลัยร็อกกี้ เฟลเลอร์ ระบุว่ามดที่กลายพันธุ์กลายเป็นมดที่ไม่สนสังคม พวกมันแค่เดินไปเดินมาไม่ทำตามหน้าที่อีกต่อไป และเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่มดต้องต่อสู้กันเพื่อเป็นนางพญามดจำแลง มดที่กลายพันธุ์ก็ไม่ยุ่งกับมดตัวอื่น ทำเพียงขยับหนวดไปมานายโครเนาเออร์เปิดเผยอีกว่า สิ่งที่น่าสนใจมากคือนักวิจัยสามารถศึกษากับมดได้ แต่ไม่สามารถศึกษาเรื่องราวลักษณะเช่นนี้กับแมลงวันหรือหนูได้ เพราะมดมีระบบการทำงานที่แบ่งหน้าที่กันมากกว่าการร่วมมือกันของสัตว์ชนิดอื่นๆ
ส่วนนายเดสแพลนระบุว่าหากต้องการศึกษาสังคมของสัตว์ให้ดูที่มด แม้แต่หนูก็ไม่มีพฤติกรรมทางเท่ากับมด

 

หนังสือพิมพ์ข่าวสด 17.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร