Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เปิดผลวิจัย พบ "การศึกษา" ตัวแปรสำคัญทำมนุษย์ตกงานในยุคออโตเมชั่น  

          การมาถึงของระบบออโตเมชั่นไม่เพียงแต่ทำให้แรงงานระดับล่างเสี่ยงต่อการถูกเลิกจ้าง หากแต่เมื่อเทียบกันระหว่างเพศหญิงกับเพศชายแล้ว ยังพบว่าเพศหญิงนั้นเสี่ยงตกงานให้กับหุ่นยนต์มากกว่าเสียด้วย
              โดยผู้ที่ทำการวิเคราะห์เรื่องดังกล่าวคือ the Institute for Spatial Economic Analysis (ISEA) ที่พบว่าผู้หญิงมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ชายถึงสองเท่าที่จะถูกแทนที่ตำแหน่งงานโดยระบบอัตโนมัติ
              ส่วนหนึ่งเป็นเพราะงานส่วนมากที่ผู้หญิงทำนั้น เป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงที่จะนำระบบอัตโนมัติเข้ามาทำแทนนั่นเอง เช่น งานแคชเชียร์ โดยพบว่า 73 เปอร์เซ็นต์ของแคชเชียร์เป็นผู้หญิง
              แต่ไม่ใช่แค่ผู้หญิงที่เสี่ยง เพราะหากแบ่งตามเชื้อชาติแล้ว ยังพบว่า กลุ่มแอฟริกันอเมริกัน และคนเชื้อสายสเปนก็เสี่ยงตกงานเพราะระบบอัตโนมัติเช่นกัน โดยความเสี่ยงอยู่ที่ 13 เปอร์เซ็นต์และ 25 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ (เมื่อเปรียบเทียบกับคนผิวขาว) ส่วนชาวเอเชียความเสี่ยงอยู่ที่ 11 เปอร์เซ็นต์
              แต่เมื่อวิเคราะห์ให้ลึกลงไปนั้น สิ่งที่ทำให้มนุษย์เสี่ยงจะเสียตำแหน่งงานให้กับหุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติมากที่สุดอาจเป็น "การศึกษา" โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติด้านแรงงานของสหรัฐอเมริกาพบว่า คนที่ไม่จบการศึกษาระดับมัธยมปลาย มีโอกาสเสี่ยงที่จะตกงาน 6 เท่า เมื่อเทียบกับคนจบปริญญาเอก เพราะงานที่คนเหล่านี้สามารถทำได้นั้นส่วนมากเป็นงานง่าย ๆ ที่มีโอกาสถูกระบบอัตโนมัติเข้ามาแทนที่ได้เร็วนั่นเอง
              นักวิจัยจากโครงการนี้ได้เน้นย้ำด้วยว่า ไม่มีสิ่งใดรับประกันได้ว่า งานใหม่ที่จะส่งให้คนที่สูญเสียอาชีพให้กับหุ่นยนต์ได้ทำแทนนั้นจะเป็นงานที่จ่ายค่าตอบแทนในระดับดี และอาจทำให้คนกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่แย่มากขึ้นได้เมื่อเทียบกับคนกลุ่มอื่น ๆ ในโลก ซึ่งสถานการณ์นี้อาจนำไปสู่ความไม่พอใจ และการประท้วงเหล่านหุ่นยนต์ในอนาคตได้นั่นเอง

 

Manager online 21.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร