Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยสวิสพัฒนาหุ่นยนต์ Envirobot ตรวจสอบคุณภาพน้ำ   

          หุ่นยนต์ว่ายน้ำได้ตัวนี้เป็นหุ่นยนต์นักสิ่งเเวดล้อมหรือ envirobot ทีมนักวิจัยชาวสวิส นำหุ่นยนต์ envirobot ตัวนี้ั้้ไปทดสอบการทำงานในทะเลสาปเเห่งหนึ่งของเทือกเขา
หุ่นยนต์ตัวนี้ดูเหมือนงูน้ำ เเต่จริงๆ เเล้วเป็นเเท่งยาวที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนสี่เหลี่ยมทรงกระบอกหลายชิ้นที่ต่อเข้าด้วยกันเเละทำหน้าที่ต่างกัน
          เบซ้าด บาย้าท นักวิทยาศาสตร์ แห่ง Ecole Polytechnique Federale De Lausanne กล่าวว่าหุ่นยนต์น้ำนี้มีลำตัวที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนทรงกระบอกสี่เหลี่ยมหลายชิ้นที่มีขนาดเท่ากัน นำมาเรียงต่อเข้าด้วยกัน มีเเบตเตอรี่ในตัวและติดมอเตอร์ในส่วนหางเพื่อให้ข้อต่อสามารถเคลื่อนที่และโยกตัวไปมาได้ เเละส่วนหัวจะทำหน้าที่ประสานการเคลื่อนตัวของชิ้นส่วนประกอบเเต่ละชิ้น ซึ่งเป็นเเรงส่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนตัวไปข้างหน้า
หากพัฒนาสำเร็จ หุ่นยนต์สิ่งเเวดล้อมนี้จะทำหน้าที่ออกตระเวณตรวจตราทางน้ำเองโดยอัตโนมัติเพื่อตรวจมลภาวะในน้ำ
Jan Roelof Van Der Meer นักวิทยาศาสตร์แห่ง University of Lausanne กล่าวว่า เเทนที่จะต้องใช้สถานีตรวจวัดหรือต้องออกเก็บตัวอย่างน้ำเเล้วนำกลับมาตรวจในห้องแลป หุ่นยนต์น้ำตัวนี้จะออกไปตรวจวัดหาค่าต่างๆ ในน้ำได้ทันที
          ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นที่ต่อเข้าเป็นลำตัวยาวของหุ่นยนต์มีลักษณะเฉพาะตัว ทำให้หุ่นยนต์ envirobot สามารถตรวจวัดค่าต่างๆ ของน้ำได้ในเวลาเดียวกัน Jan Roelof Van Der Meer กล่าวอีกว่าชิ้นส่วนทรงกระบอกสี่เหลี่ยมแต่ละชิ้น มีหน้าที่ต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ใช้วัดค่าทั่วไปของน้ำ วัดอุณหภูมิ การนำไฟฟ้า ค่าความเป็นกรดเเละด่างและระดับอ็อกซิเจนในน้ำ เขากล่าวว่าค่าของน้ำเหล่านี้ช่วยบอกได้ถึงคุณภาพของน้ำว่าดีหรือเสีย
นอกจากนี้ยังชิ้นส่วนของลำตัวหุ่นยนต์อีกอย่างหนึ่งที่บรรจุเเบคทีเรีย เซลล์ของปลาและเเม้เเต่ตัวหมัดน้ำขนาดจิ๋วที่มีปฏิกริยาต่อสารพิษในน้ำ
          ผู้สื่อข่าววีโอเอรายงานว่าเป้าหมายสูงสุดของทีมนักวิทยาศาสตร์ทีมนี้คือมุ่งพัฒนาหุ่นยนต์ตรวจสอบมลพิษที่ทำงานอัตโนมััติ
Jan Roelof Van Der Meer นักวิทยาศาสตร์แห่ง University of Lausanne นักวิจัยกล่าวว่าทีมงานยังต้องการพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถเสาะหาเเหล่งกำเนิดของมลภาวะให้ได้อีกด้วย ซึ่งจะช่วยระบุจุดที่ควรทำการวัดคุณภาพน้ำเป็นการเฉพาะและเเคบลง ก่อนที่จะช่วยตัดสินใจได้ว่าควรดำเนินการอย่างไรต่อไปซึ่งงานที่ว่านี้ยังถือว่าท้าทายมากในขณะนี้
เเต่เเม้จะเป็นงานที่ท้าทาย ผลงานที่ได้จะคุ้มค่าอย่างเเน่นอนเพราะโลกกำลังประสบกับปัญหาขยะและมลพิษปริมาณมหาศาลที่ถูกทิ้งลงไปในเเหล่งน้ำทั่วโลก

 

Voice of America 23.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร