Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทย์ดีเด่นย่อเรื่อง “รังสีคอสมิค” ตัวพยากรณ์ “ลมสุริยะ”  

          ถ้ากรมอุตุนิยมวิทยาเป็นหน่วยงานสำหรับพยากรณ์อากาศ รังสีคอสมิคคงเป็นตัวพยากรณ์ลมสุริยะเช่นกัน โดยในอดีตกาลนั้นรังสีคอสมิกนั้นก่อให้เกิดการกลายพันธ์ของเซลล์ในร่างกายและมีส่วนช่วยในมนุษย์มีการวิวัตนาการมาเป็นมนุษย์ในทุกวันนี้
              จากความของรังสีคอสมิคที่น่าสนใจ มหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้จัดเสวนาพิเศษเมื่อ 28 ส.ค.60 เพื่อให้ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เดวิด รูฟโฟโล จากภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล และนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจำปี 2560 ได้มาอธิบายถึงเหตุผลว่า ทำไมถึงศึกษารังสีคอสมิกในประเทศไทย
              รังสีคอสมิกนั้นเป็นอนุภาคพลังงานสูง หรือรังสีแกมมาที่มาจากนอกโลก เป็นสสารธรรมดาที่ถูกเร่งขึ้นมาให้มีพลังงานสูง โดยในเอกภพนั้นประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อไฮโดรเจนแตกตัวเป็นไอออนและอิเล็กตรอน หากไฮโดรเจนที่แตกตัวออกมานั้น มีความร้อนพอก็จะแตกตัวให้โปรตอนออกมาด้วย โดยรังสีคอสมิกนั้นจะประกอบด้วย ไอออนของทุกๆ ธาตุที่มีอยู่ในเอกภพที่ได้จากการเร่งจากการชนระหว่างทาง เมื่อรังสีคอสมิกนั้นมาชนกับบรรยากาศโลก ก็จะเกิดอนุภาคย่อยเกิดขึ้นและตกลงมาที่พื้นดินได้
              แหล่งกำเนิดที่สำคัญของรังสีคอสมิกนั้นมี 2 แหล่งคือจากพายุสุริยะ และจากการระเบิดของซูเปอร์โนวาจากที่อื่นในกาแล็กซี โดยการเกิดของรังสีคอสมิกจากทั้งสองแหล่งนั้น ก็ยังแปรเปลี่ยนตามเวลา โดยมีปัจจัยมาจากลมสุริยะและพายุสุริยะ
              ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เดวิด กล่าวว่าเหตุที่เลือกมาศึกษารังสีคอสมิกที่ประเทศไทยนั้น ก็เพราะประเทศไทยนั้น เป็นจุดที่สนามแม่เหล็กโลกในแนวนอนเข้มที่สุด ทำให้การศึกษารังสีคอสมิกที่มาจากการระเบิดของซูเปอร์โนว่านั้นได้ผลดี
              ศ.ดร.เดวิด ได้ร่วมมือกับนักวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งสถานีตรวจวัดนิวตรอนสิริธรขึ้น ณ ยอดดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ เพื่อให้สามารถตรวจวัดรังสีคอสมิกที่เข้ามาสู่โลกได้ ก่อนที่รังสีคอสมิคจะตกกระทบพื้นดิน เนื่องจากเมื่อรังสีคอสมิกผ่านชั้นบรรยากาศโลกเข้ามาแล้ว จะแตกตัวออกเหมือนเม็ดฝน ใน ส่วนรับสัญญาณเครื่องมือที่สถานีตรวจวัดนั้น เป็นตะกั่วรูปวงแหวน โดยแต่ละวงมีน้ำหนัก 60 กิโลกรัม ซึ่งมีทั้งหมดประมาณ 500 วง
              ศ.ดร.เดวิดให้เหตุผลว่าที่เลือกตะกั่วเป็นสวนรับสัญญาณ เนื่องจากตะกั่วมีนิวเคลียสใหญ่ เมื่อโดนนิวตรอนจากรังสีคอสมิกชน ตะกั่วจะแตกตัวและให้นิวตรอนออกมาเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นการขยายสัญญาณ
              “รังสีคอสมิกนั้นมีประโยชน์สำหรับการพยากรณ์พายุสุริยะ เมื่อเกิดจุดมืดในดวงอาทิตย์จำนวนมาก และสนามแม่เหล็กมีลักษณะสลับซับซ้อน จะพอคาดการณ์ได้ว่า จะมีพายุสุริยะเกิดขึ้น แต่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า จะเกิดขึ้นวัน เวลาใด หรือระดับความรุนแรงมากน้อยเพียงใด การที่อนุภาควิ่งจากดวงอาทิตย์มายังโลก ด้วยความเร็วเกือบเท่าความเร็วแสง ไม่สามารถเตือนภัยล่วงหน้าได้ เพียงแต่เราสามารถใช้อุปกรณ์ ที่สถานีตรวจวัดนิวตรอนเพื่อเตือนว่า ขณะนี้รังสีกำลังจะมาถึงโลกเราแล้ว และเตือนภัยบริษัทสายการบินต่างๆ สำหรับพายุสุริยะ” ศ.ดร.เดวิดอธิบาย
              การศึกษารังสีคอสมิกนี้เป็นหนึ่งในการศึกษาเรื่องพายุสุริยะ เนื่องจากพายุสุริยะจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ในช่วงที่มีจุดมืดจำนวนมากบนดวงอาทิตย์ โดยพายุสุริยะมักจะเกิดขึ้นในกลุ่มจุดมืดของดวงอาทิตย์ และในประวัติศาสตร์นั้นไม่มีการบันทึกว่า พายุสุริยะทำลายสิ่งปลูกสร้าง หรือทำลายผู้คนให้ล้มตายหรือบาดเจ็บ เพียงแต่มันอาจจะกระทบทางด้านเศรษฐกิจบ้าง เช่น กระทบต่อบริษัทสายการบิน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า บริษัทดาวเทียม นักบินอวกาศ และรบกวนการสื่อสารทางคลื่นวิทยุ

 

ผู้จัดการออนไลน์ 30.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร