Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'การบำบัดน้ำเสีย' หนทางกู้วิกฤตความมั่นคงทางน้ำของโลก  

          ระหว่างที่เรากำลังอาบน้ำชำระร่างกาย และดื่มน้ำสะอาดที่หาได้ง่าย ยังมีประชาชนทุก 1 ใน 9 คนทั่วโลก ที่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้าถึงน้ำสะอาดได้เหมือนคุณผู้ฟัง และเป็นประเด็นสำคัญที่ภาครัฐ องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร และองค์กรการกุศลต่างๆ ร่วมกันหาทางแก้ไขกันที่การประชุมนานาชาติ World Water Week 2017 ภายใต้คำขวัญที่ว่า “Water and waste, reduce and reuse” ที่กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
         ในปีนี้ทุกฝ่ายได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการบำบัดน้ำเสีย และนำกลับมาใช้ใหม่ นอกเหนือจากการลดการใช้น้ำที่พยายามผลักดันกันมายาวนาน
Todd Garther จากสถาบัน World Resources บอกว่า ปัจจุบันมีน้ำเสียราว 4-5% ที่นำกลับมาใช้ใหม่ ส่วนอีก 90% เป็นน้ำที่ยังไม่ผ่านกระบวนการกรองแร่ธาตุหรือสารเคมีก่อนจะไปถึงมือผู้บริโภคได้ ซึ่งปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่รองรับการบำบัดน้ำให้สะอาดเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภค และเป็นแนวทางง่ายๆที่สร้างความเปลี่ยนแปลงได้มาก ซึ่งมีหลายประเทศที่เริ่มผลักดันเรื่องนี้ขึ้นมา
อย่างไรก็ตาม การจัดการน้ำเสีย ไม่เพียงแต่ช่วยให้เรามีน้ำสำหรับการบริโภคที่เพียงพอแล้ว ยังช่วยลดปริมาณน้ำเสียที่จะไหลลงสู่แม่น้ำ ลำธาร หรือมหาสมุทรด้วย เพราะ 80% ของน้ำเสียทั่วโลกยังไม่ได้รับการบำบัด และมีโอกาสไหลลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ
นอกเหนือจากการบำบัดน้ำเสียแล้ว Sarah Feakins อาจารย์จาก University of Southern California มองว่า เราบริโภคน้ำสะอาดมากเกินกว่าที่ผลิตได้ โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ซึ่งจำเป็นต้องปรับปรุงการใช้น้ำอย่างที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบัน World Resources ย้ำถึงการสร้างความมั่นคงทางน้ำทั่วโลก ที่ทุกฝ่ายจะต้องยอมรับว่านี่เป็นปัญหาจริงๆ และต้องผลักดันการเข้าถึงน้ำสะอาดให้เทียบเท่ากับสิทธิมนุษยชน ที่ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
ขณะที่การบริหารจัดการน้ำต้องผสมผสานวิถีดั้งเดิม ตั้งแต่การปลูกป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำ ซ่อมแซมท่อส่งน้ำ รวมทั้งเพิ่มเทคโนโลยีแยกเกลือออกจากน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน เพื่อส่งเสริมการใช้น้ำอย่างยั่งยืน

Voice of America 31.08.17

 

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร