Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยปลูก 'สำเนาจิ๋ว' อวัยวะของผู้ป่วยเพื่อใช้ทดสอบยา   

          การรักษาโรคแบบปัจเจกบุคคล หรือ personalized medicine เกิดขึ้นจากการค้นพบใหม่ๆ เกี่ยวกับพื้นฐานทางโมเลกุลของโรคต่างๆ และความเเตกต่างของคนเเต่ละคนทางพันธุกรรม
สำหรับเเพทย์ นี่หมายความว่าคนไข้เเต่ละคนตอบสนองต่อการรักษาเเบบเดียวกันต่างกันออกไป และข้อมูลนี้จะเป็นกุญเเจสำคัญของการบำบัดที่ได้ผล
          ด็อกเตอร์ คอร์ส แวน เดอ เอ็นท์ ผู้เชี่ยวชาญโรคซิสติกไฟโบรซิส กล่าวว่า นี่เป็นเทคโนโลยีที่สร้างความหวังเเก่ผู้ป่วย ดังนั้นสำหรับคนไข้เกือบทุกคน การบำบัดเเนวใหม่สร้างความหวังเเก่อนาคต
โรคซิสติกไฟโบรซิส เป็นโรคที่สืบทอดทางพันธุกรรมที่ยังไม่มีทางรักษา เป็นความผิดปกติของเซลล์ทุกอวัยวะที่เป็นเซลล์เยื่อเมือก อาทิ ปอดและลำไส้ ซึ่งเยื่อเมือกในอวัยวะเหล่านี้จะเหนียวขึ้นกว่าปกติ ทำให้ทำงานได้ไม่เป็นปกติ และเนื่องจากโรคนี้มีหลายรูปแบบ จึงทำให้มีการรักษาด้วยยาหลายวิธีด้วยกัน เเละโชคร้ายที่ยาบางชนิดเเพงมากจนคนไข้ไม่สามารถใช้ได้
เเละเพื่อทดสอบว่ายาชนิดในชนิดหนึ่งมีประสิทธิภาพหรือไม่ ทีมนักวิจัยในประเทศเนเธอร์เเลนด์ได้พัฒนาเทคนิคใหม่ขึ้นมาเพื่อปลูกอวัยวะสำเนาขนาดจิ๋วของคนไข้
ในการวิจัยนี้ ทีมงานได้ปลูกลำไส้ปลอมขนาดเล็กเเก่ผู้ป่วย 450 คน ด็อกเตอร์ฮันส์ คลีฟเวอร์ กล่าวว่าลำไส้ปลอมนี้มีขนาดแค่หนึ่งมิลลิเมตรเท่านั้น แต่มีความสมบูรณ์ มีทุกอย่างเหมือนลำไส้จริง เพียงเเต่มีขนาดเล็กกว่ามากเท่านั้น
การทดสอบหลายครั้งเเสดงให้เห็นผลอย่างรวดเร็วว่า เซลล์ที่ถูกบำบัดด้วยยารักษาชนิดหนึ่งมีอาการบวมขึ้น ด็อกเตอร์เจฟฟรีย์ บีกเเมน กล่าวว่า จากการสังเกตุดูการบวมเบ่งของอวัยวะสำเนาของคนไข้ ทีมงานสามารถบอกได้ทันทีว่ายาดังกล่าวจะใช้ได้ผลกับคนไข้คนนั้นๆ หรือไม่
ทีมนักวิจัยในสหรัฐฯ กำลังใช้เทคนิคเดียวกันนี้ในการทดสอบยากับเซลล์เนื้องอกที่ได้จากผู้ป่วยมะเร็ง
ด็อกเตอร์ฮันส์ คลีฟเวอร์ กล่าวว่าทีมงานสามารถทดสอบก้อนเนื้อตัวอย่างนี้ได้กับยาหลายชนิด เเละค้นหาว่ายาตัวใดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการบำบัดคนไข้เเต่ละคน
ทีมนักวิทยาศาสตร์ชี้ว่ายังมีอุปสรรคและความท้าทายอีกหลายอย่าง ก่อนที่จะสามารถใช้วิธีใหม่นี้ไปใช้ได้อย่างเต็มที่ เเต่พวกเขาหวังว่าในอีกราว 10 ปีข้างหน้า การบำบัดโรคแนวปัจเจกบุคคลนี้ จะกลายเป็นวิธีที่มีให้ใช้กันทั่วโลก

 

Voice of America 31.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร