Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยค้นพบแอนติบอดี้ที่อาจใช้บำบัด 'อีโบล่า' ได้  

          ผู้เชี่ยวชาญได้ค้นพบแอนติบอดี้ที่มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อไวรัสอีโบล่าแบบครอบจักรวาล ในเลือดของผู้ป่วยที่รอดชีวิตจากการติดเชื้ออีโบล่าที่เเพร่ระบาดรุนเเรงในแอฟริกาตะวันตกในช่วงปี ค.ศ. 2013 – 2016
          เชื้อไวรัสอีโบล่ามีความร้ายเเรงถึงชีวิต ได้คร่าชีวิตคนไปกว่า 11,000 คนจากจำนวนคนที่ติดเชื้อทั้งหมด 29,000 คนในประเทศไลบีเรีย กินี และ เซียร่า ลีโอน
          เชื้อไวรัสอีโบล่าได้ชื่อมาจากการระบาดครั้งเเรกของโรคนี้ในตามพื้นที่ริมเเม่น้ำอีโบล่าในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเมื่อปีค.ศ. 1976 และตั้งเเต่นั้นเป็นต้นมา มีการระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าหลายสิบครั้งในแอฟริกา รวมทั้งการระบาดในคองโกในขณะนี้ ที่ทำให้คนติดเชื้อ 9 คน เสียชีวิดเเล้ว 3 คน
          Kartik Chandran ผู้เชี่ยวชาญแห่งวิทยาลัยการเเพทย์ Albert Einstein มีส่วนช่วยในการค้นพบแอนติบอดี้ชนิดนี้ โดยมีรายละเอียดที่ตีพิมพ์ในวารสาร Cell เมื่อเร็วๆนี้
          นักวิจัยมีความหวังว่าแอนติบอดี้ต่อต้านเชื้อไวรัสอีโบล่าที่ค้นพบนี้อาจนำไปใช้ต่อต้านเชื้อไวรัสอีโบล่าได้ทุกสายพันธุ์ จากการทดลองในสัตว์ตระกูลลิงที่ไม่ใช่คนที่กำลังดำเนินอยู่ในขณะนี้ และตั้งบนพื้นฐานที่ว่าข้อมูลที่ได้ยังเป็นเพียงการคาดเดาอยู่ มีความหวังว่าแอนติบอดี้ต่อต้านเชื้ออีโบล่าเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ป้องกันคนเราไม่ให้ติดเชื้ออีโบล่าหรือใช้บำบัดการติดเชื้อได้
ทีมนักวิจัยนี้ได้ทำการสกัดแอนติบอดี้ราว 350 ตัวออกจากตัวอย่างเลือดของผู้ติดเชื้ออีโบล่า และมีแอนติบอดี้สองตัวที่เเสดงผลทางบวกว่าสามารถควบคุมเชื้อไวรัสอีโบล่าได้ 3 สายพันธุ์ในเนื้อเยื่อที่ปลูกในห้องทดลอง ทีมนักวิจัยชี้ว่าแอนติบอดี้เหล่านี้มีประสิทธิภาพในการแทรกเเซงกระบวนการของเชื้ออีโบล่าในการติดเชื้อเเละเเพร่จำนวนภายในเซลล์
          นักวิจัยกล่าวว่าแอนติบอดี้ที่ได้จากร่างกายคนเหล่านี้สามารถโจมตีเเละทำลายเชื้อไวรัสอีโบล่าได้ทุกสายพันธุ์ และทีมนักวิจัยใช้เวลานาน 6 เดือนในการค้นพบแอนติบอดี้เหล่านี้
ในขณะที่แอนติบอดี้ต่อต้านเชื้อไวรัสอีโบล่าหลายสายพันธุ์นี้อาจจะถูกพัฒนาไปเป็นวิธีบำบัดการติดเชื้ออีโบล่า Kartik Chandran ผู้เชี่ยวชาญแห่งวิทยาลัยการเเพทย์ Albert Einstein กล่าวว่า อาจสามารถนำแอนติบอดี้ต่อต้านอีโบล่าไปพัฒนาเป็นวัคซีนเพื่อใช้ฉีดเเก่คนก่อนการระบาดของเชื้ออีโบล่าเพื่อป้องกันการติดเชื้อ

Voice of America 01.09.17

 

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร