Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'เต่าเเก้มเเดง' จากสหรัฐฯ คุกคามสัตว์น้ำในต่างแดน แพร่เชื้อโรคสู่คน   

          'เต่าเเก้มเเดง' ที่มีต้นกำเนิดที่แม่น้ำมิสซิสซิปปี้ในสหรัฐฯ เป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงที่คนนิยมมากที่สุดชนิดหนึ่งทั่วโลก
และตั้งเเต่ประเทศโปแลนด์เปิดประเทศเเก่ชาติตะวันตกเมื่อ 30 ปีที่เเล้ว นักวิทยาศาสตร์ประมาณว่า โปแลนด์ได้นำเข้าเต่ามากกว่าหนึ่งล้านตัวเพราะเป็นสัตว์เลี้ยงที่ง่ายต่อการดูแล
แต่ราว 1 ใน 3 ของเต่าเลี้ยงเหล่านี้ถูกปล่อยลงสู่เเม่น้ำและบริเวณที่น้ำท่วมถึงทั่วโปแลนด์ เต่าพันธุ์นี้โตได้ถึงกว่า 20 เซ็นติเมตร และมีอายุยาวนาน 20 – 40 ปีในธรรมชาติ ซึ่งสร้างปัญหา
บาทโวมีเอ กอร์ซคอฟสกี้ ผู้อำนวยการแห่งมูลนิธิเอพิคระทีส (Epicrates Foundation) หน่วยงานด้านสิ่งเเวดล้อมในโปแลนด์ กล่าวว่า เต่าเเก้มเเดงจากสหรัฐฯ เป็นเต่าที่ขนาดใหญ่และเเข็งเเรงกว่า ทำให้เต่าสายพันธุ์ท้องถิ่นหายไปจากเเหล่งที่อยู่ธรรมชาติในพื้นที่ เขากล่าวว่าเต่าสายพันธุ์ต่างถิ่นนี้ยังคุกคามต่อความสมดุลของระบบนิเวศน์ท้องถิ่นด้วย
เขากล่าวว่า เต่าแก้มเเดงนอกจากจะมีจำนวนมากเเล้ว เต่าพันธุ์นี้เเต่ละตัวยังสามารถกินไข่ปลาและไข่ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอื่นๆ ได้มากกว่า 10 กิโลกรัมต่อปี สร้างความไม่สมดุลแก่ระบบนิเวศน์ที่เปราะบาง และกลายเป็นอันตรายเเก่ความอยู่รอดของสัตว์อื่นๆ
และปัญหาที่สองคือเชื้อโรคที่มากับเต่า ซึ่งมักเป็นเชื้อโรคที่ไม่เคยพบมาก่อนสัตว์ท้องถิ่นไม่มีภูมิต้านทาน โดยเชื้อโรคเหล่านี้รวมทั้ง เชื้อเเบคทีเรียซูโนติก ที่สามารถเเพร่ไปสู่สัตว์ชนิดอื่นๆ และคนได้
ดาริอุสซ์วาสิล แห่งสถาบันสัตวแทย์แห่งชาติโปแลนด์กล่าวว่า มีการค้นพบเชื้อเเบคทีเรียใหม่ๆ จากเต่าแก้มเเดงสายพันธุ์ต่างถิ่นนี้ เช่น เชื้อแบคทีเรียคลามายเดีย และเชื้อแบคทีเรียอื่นๆ อีกหลายชนิด ซึ่งอาจทำให้สัตว์อื่นติดเชื้อได้ไม่ว่าจะเป็นเต่าโคลนท้องถิ่น ปลา นก และเเม้แต่มนุษย์
ขณะนี้ หน่วยงานต่างๆที่ทำงานควบคุมเต่าเเก้มเเดงในประเทศโปแลนด์ได้จับเต่าพันธุ์นี้ได้เเล้วเดือนละ 25 ตัวในปีนี้

 

Voice of America 05.09.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร