Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

มารู้จัก...การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์  

          การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT scan เป็นการตรวจหาโรคที่ให้ผลแม่นยำและนำไปสู่การรักษาผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ การตรวจด้วยวิธีนี้ทำอย่างไร ตรวจอวัยวะใดได้บ้าง และมีความจำเป็นอย่างไร มาหาคำตอบกัน
          การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือที่เรารู้จักกันในชื่อว่า CT scan เป็นการถ่ายภาพร่างกายของผู้ป่วยด้วยลำแสงเอกซ์ โดยฉายผ่านอวัยวะที่ต้องการตรวจ ซึ่งภาพที่ได้จะเป็นภาพในแนวตัดขวางของร่างกายและสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจนี้ ไปสร้างภาพในระนาบอื่น ๆ เพิ่มเติม ทำให้เห็นรอยโรคได้ชัดเจนมากขึ้น และนำไปสู่การรักษาที่มีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นแพทย์จึงนิยมใช้ CT scan เพื่อตรวจหารอยโรคในระยะเริ่มต้น ดูการกระจายของตัวโรค เพื่อวางแผนการรักษา รวมไปถึงใช้ตรวจติดตามหลังการรักษาด้วย
          เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT scan นี้ สามารถตรวจรอยโรคในอวัยวะได้เกือบทุกชนิด ตั้งแต่ สมอง ลำคอ ปอด ตับ อวัยวะต่าง ๆ ภายในช่องท้อง รวมถึง ต่อมน้ำเหลือง กระดูก และหลอดเลือด แต่ไม่สามารถตรวจเส้นประสาท และเอ็นของข้อต่อต่าง ๆ ได้
การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT scan จะแตกต่างจากการตรวจเอกซเรย์ธรรมดา ตั้งแต่ขั้นตอนการตรวจ โดยการตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT scan จะมีการนัดหมายการตรวจ เพราะมักมีการฉีดสารทึบรังสีร่วมด้วย โดยผู้ป่วยที่ต้องฉีดสารทึบรังสีต้องงดอาหารอย่างน้อย 4 ชั่วโมงก่อนทำการตรวจ เพื่อให้เห็นรายละเอียดของเนื้อเยื่อเป็นภาพ 3 มิติ และบอกความแตกต่างของความผิดปกติได้หลายพันระดับ จึงช่วยให้แพทย์อ่านความผิดปกติของอวัยวะนั้น ๆ ได้ละเอียดและแม่นยำกว่า ซึ่งในการตรวจเอกซเรย์ธรรมดาจะไม่มี และการเอกซเรย์ธรรมดาจะให้ภาพแค่ 2 มิติ ไม่สามารถบอกความลึกได้ และบอกความแตกต่างของความผิดปกติในภาพได้เพียง 5 ระดับส่วนการจะตรวจรอยโรคด้วยวิธีใดนั้น ขึ้นกับแพทย์ผู้ให้การรักษาจะเป็นผู้เลือกการตรวจที่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนั้น ๆ และรอยโรคนั้น ๆ
การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT scan ก็มีข้อควรระวัง เนื่องจากการตรวจ CT scan ในหลายโรค จำเป็นต้องฉีดสารทึบรังสี ซึ่งสารทึบรังสีนี้จะไม่ใช้กับผู้ที่แพ้ไอโอดีน ผู้ที่เป็นโรคหอบหืดรุนแรง ผู้ที่เป็นโรคไต เพราะอาจมีอาการแพ้ได้ ถ้าแพ้เล็กน้อยอาจมีผื่นคันขึ้นตามใบหน้า ลำตัว ถ้ารุนแรงขึ้นอาจมีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าถึงขั้นรุนแรงมากอาจเกิดความดันโลหิตต่ำและช็อกเสียชีวิตได้ แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวมาข้างต้น แพทย์ก็จะฉีดยากันแพ้ให้ก่อนการตรวจ หรืออาจใช้การตรวจด้วยวิธีอื่น เช่น อัลตราซาวด์ หรือ MRI แทน จึงไม่ต้องวิตกกังวล

 

Manager online 15.09.17


อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร