Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ไม่ต้องขยิบตาหรือเอ่ยปากพูด แต่แว่นพันธุ์ใหม่ทำ “จมูก” เป็นรีโมทคอนโทรล์ได้!  

          ทีมนักวิทยาศาสตร์หลายชาติร่วมกันคิดค้นแว่นตาอัจฉริยะต้นแบบที่ทำให้ผู้สวมสามารถเปลี่ยนจมูกให้เป็นรีโมทคอนโทรล์ลับ ซึ่งจะปรับเปลี่ยนหน้าจออุปกรณ์ไอทีใกล้ตัวโดยที่เพื่อนที่อยู่ในบริเวณนั้นไม่รู้ตัว เพียงแค่ยกมือขึ้นมาปัดจมูกไปซ้ายขวา หรือวางนิ้วแนวนอนเพื่อขยี้จมูกทั้ง 2 ข้างเหมือนมีอาการคันจมูก ผู้สวมแว่นนี้ก็จะสามารถสั่งการอุปกรณ์ไอทีนั้นได้โดยไม่ต้องเอื้อมมือ
ผลงานการคิดค้นนี้เป็นของนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์หลายเชื้อชาติ ทั้งมหาวิทยาลัย KAIST ในเกาหลีใต้ มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูในสก็อตแลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งจอร์เจียในสหรัฐอเมริกา และมหาวิทยาลัยเคโอในประเทศญี่ปุ่น งานวิจัยนี้ใช้แนวทางที่ไม่เหมือนใครในการออกแบบแว่นตาอัจฉริยะ ซึ่งแว่นนี้มีชื่องานตามรายละเอียดในเอกสารว่า ItchyNose: Discreet Gesture Interaction
ItchyNose นั้นเป็นการนำท่าทางที่มนุษย์ทำเป็นปกติมาใช้ในการควบคุมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยใช้เซนเซอร์ EOG มาติดที่แว่นตาอัจฉริยะ ตัวแว่นถูกนำมาโชว์ในงานประชุมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สวมใส่ได้นานาชาติหรือ International Symposium on Wearable Computers
แทนที่จะพยายามรวมหน้าจอ กล้องถ่ายรูป หน้าจอสัมผัส แล้วปรับเปลี่ยนรายละเอียดให้เป็นสินค้าไอทีสวมใส่ได้ ทีมวิจัยเลือกหยิบชุดเซ็นเซอร์ธรรมดามาติดที่คอต่อและแผ่นรองจมูกของแว่นตา ทำให้ผู้สวมแว่นนี้สามารถใช้จมูกเป็นรีโมทคอนโทรล์อุปกรณ์ของตัวเอง
แนวคิดนี้เก๋มากเมื่อเทียบกับกูเกิล (Google) เจ้าพ่อเวิร์ชเอนจิ้นที่เทเงินหลายพันล้านเหรียญสหรัฐวิจัยและพัฒนาแว่นอัจฉริยะ แต่ทีมวิจัยนี้เลือกยกระดับแว่นด้วยการทำให้แว่นนี้เป็นหนทางให้ผู้สวมมีวิธีควบคุมอุปกรณ์ไอทีแบบใหม่ที่หลายคนนึกไม่ถึง
รายงานระบุว่า เซ็นเซอร์ EOG เหล่านี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อวัดสัญญาณไฟฟ้าทั้งในและรอบดวงตา ก่อนหน้านี้ถูกนำมาใช้เพื่อการวินิจฉัยภาวะทางการแพทย์บางอย่าง และใช้เป็นเครื่องมือบันทึกการเคลื่อนไหวของดวงตาในอุตสาหกรรมสเปเชียลเอฟเฟ็กต์เพื่อให้สามารถจับภาพใบหน้าของนักแสดง รวมถึงการใช้กับตัวละครคอมพิวเตอร์กราฟิกหรือ CG
เซ็นเซอร์ EOG ถูกใช้ในแบบเดียวกันบนแว่นนี้ แต่แทนที่จะบันทึกการเคลื่อนไหวของดวงตา เซ็นเซอร์ EOG ในแว่นตาอัจฉริยะจะตรวจจับการเคลื่อนไหวของจมูกของผู้สวมใส่ แว่นตาอัจฉริยะนี้จะมองไม่ต่างจากแว่นปกติ แต่ตัวแว่นจะสามารถตรวจจับได้ชัดเจนเพื่อแปลความเคลื่อนไหวของจมูกเป็นคำสั่งระยะไกลสำหรับอุปกรณ์รอบข้าง
ผลคือ ในขณะที่เจ้านายกำลังเดินมา ผู้ใช้สามารถถูจมูกแรงๆเพื่อปิดหน้าต่างอีเมลที่กำลังเปิดอยู่บนคอมพิวเตอร์แล็ปท็อป นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน ให้ผู้ใช้ปัดจมูกไปซ้ายขวาเพื่อเพิ่มลดระดับเสียง หรือการส่งข้อความอัตโนมัติกรณีไม่ว่าง
ส่วนสำคัญของแว่นตาอัจฉริยะนี้ คือท่าทางที่ไม่แสดงออกโจ่งแจ้งว่ากำลังโต้ตอบกับอุปกรณ์ แม้การถูและการสะบัดมือถูจมูกต่อเนื่องอาจทำให้ดูเหมือนคนติดยาหรือไม่สบาย (รวมถึงไม่เหมาะกับคนที่ทำศัลยกรรมจมูก) แต่อย่างน้อย แว่นนี้จะเป็นตัวช่วยให้คนที่มีความลับเยอะ สามารถใช้ชีวิตอยู่กับความลับของตัวเองได้ง่ายขึ้น.

 

Manager online 19.09.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร