Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

‘อยู่ไหน 3D’ ของหายก็เจอ คนหายก็พบ  

         “เรารู้นะว่า คุณอยู่ที่ไหน” นักวิจัยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เปิดแพลตฟอร์มระบบระบุตำแหน่งภายในอาคารด้วยเทคโนโลยีบลูทูธพลังงานต่ำ ภายใต้ชื่อ ‘อยู่ไหน 3D’ ช่วยตามหาทั้งของหายและคนหาย
         นักวิจัยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้แนวคิดการติดตามตัวบุคคลและสิ่งของที่เคลื่อนที่ภายในอาคารผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตสารพัดสิ่ง (Internet of thing) และใช้ประโยชน์จากสัญญาณระบบคลาวด์ (Cloud Computing Platform) เพื่อช่วยประมวลผลการระบุตำแหน่ง แสดงผลและวิเคราะห์ข้อมูล ช่วยในการลดระยะเวลาในการตามหาบุคคล และหาสิ่งของอย่างเช่นอุปกรณ์ทางการแพทย์ราคาแพง
ดร.กมล เขมะรังสี นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) อธิบายการทำงานของระบบดังกล่าวให้ทีมงานผู้จัดการวิทยาศาสตร์ฟังว่า ในการเดินระบบนั้น ทางทีมวิจัยได้ติดตั้งกล่องรับสัญญาณไร้สาย ที่เรียกว่า “Anchor” ไว้ภายในอาคารทุกชั้น จากนั้นกล่องรับสัญญาณจะรับสัญญาณจาก ตัวป้ายระบุตำแหน่งหรือแท็ก (Tag) ที่อยู่กับตัวบุคคลหรือสิ่งของ ซึ่งจะใช้เทคโนโลยีสมองกลฝังตัวขนาดเล็ก และระบบสื่อสารไร้สายบูลทูธพลังงานต่ำในการส่งสัญญาณออกไป โดยสามารถออกแบบแท็ก ให้มีรูปร่างเหมาะสำหรับการพกพาของแต่ละบุคคล เช่น สายรัดข้อมือ บัตร หรือจี้
การรับสัญญาณจากแท็ก แต่ละชิ้นนั้น ต้องการเครื่องรับสัญญาณอย่างน้อยสามเครื่อง เพื่อการระบุตำแน่งที่แม่นย่ำ เมื่อเครื่องรับสัญญาณจากแท็ก แล้วสัญญาณจะถูกส่งต่อไปยังตัวเซิร์ฟเวอร์ (Server) โดยข้อมูลที่ถูกส่งมายังตัวเซริฟเวอร์นั้นจะถูกเก็บในระบบคลาวด์ (Cloud Computing Platform) ก่อนที่จะประมวลผลมายังแอปพลิเคชัน ‘Unai’ และระบุตัวบุคคลหรือสิ่งของที่มีแท็ก ติดอยู่ว่าอยู่บริเวณไหนของอาคารผ่านทางหน้าจอมือถือ ซึ่งการทำงานดังกล่าวจะเหมือนการทำงานของจีพีเอส (GPS)
“ตอนนี้ได้นำตัวระบบระบุตำแหน่งนี้ไปทดลองใช้ที่โรงเรียนอนุบาลดงวิภา โดยให้คุณครูช่วยใส่แท็กในรูปแบบสายรัดข้อมือให้แก่เด็กนักเรียนทุกคน และได้เดินระบบระบุตำแหน่งให้แสดงผลผ่านทางแอปพลิเคชัน โดยแอปฯ นี้สามารถตั้งค่าระบุตัวบุคคลแต่ละคนหรือของแต่ละชิ้นได้ และยังสามารถเลือกได้ว่า ต้องการตามคนใดหรือของชิ้นไหนเป็นพิเศษ ซึ่งประสิทธิภาพของแท็กนั้นจะอยู่ได้ประมาณ 3 เดือนเป็นอย่างต่ำ” ดร.กมลอธิบาย
ผู้สนใจที่อยากรู้จักเทคโนโลยีมากขึ้นสามารถแวะไปเยี่ยมชมได้ภายงานมหกรรม Thai Tech Expo 2017 ซึ่งจัดโดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 20 – 24 กันยายน 2560 ณ ฮอลล์ 105 – 106 ไบเทค บางนา เวลา 9:00 – 19:00 น.

Manager online 19.09.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร