Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

"บิล เกตส์" ยกย่อง "ดร.กฤษณา" เภสัชกรหญิงไทย เป็นฮีโร่ผลิตยาต้านเอดส์ช่วยผู้ยากไร้  

          "บิล เกตส์" ยกย่อง " ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์" เภสัชกรหญิงชาวไทย เป็นฮีโร่ที่อุทิศตนในการผลิตยาต้านไวรัสเอชไอวีให้มีราคาถูกลง จนกระทั่งคนยากไร้สามารถเข้าถึงยาได้ และยังเดินทางไปยังประเทศยากจนในแอฟริกาใต้เพื่อบุกเบิกโรงงานผลิตยาต้านไวรัสรวมถึงยาแผนปัจจุบันอื่นๆอีกหลายตัว
          วันที่ 1 ธ.ค. ที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นวันเอดส์โลก นายบิล เกตส์ มหาเศรษฐีผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ ได้โพสต์เฟซบุ๊กและได้เขียนในเว็บไซต์ The Blog of Bill Gates ยกย่องบุคคลสำคัญ 2 คน เป็นฮีโร่ที่ช่วยชีวิตคนจากโรคเอดส์ ซึ่ง 1 ใน 2 บุคคลที่นายบิล เกตส์ ยกย่องนั้น คือ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ ว่าเป็นฮีโร่ที่อุทิศตนในการผลิตยาต้านไวรัสเอชไอวี ทำให้ผู้ยากไร้เข้าถึงยาได้ง่ายขึ้น ซึ่งได้ช่วยชีวิตคนมากมายมหาศาล
"Dr. Krisana Kraisintu, a pharmacist from Thailand, has dedicated her life to making medicines more affordable and accessible. Her efforts have saved and improved countless lives." นายบิล เกตส์ ระบุในเฟซบุ๊ก
ส่วนในคลิปที่นายบิล เกตส์ โพสต์ มีเนื้อหาว่า ดร.กฤษณา เภสัชกรหญิงชาวไทย ทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดจักเหนื่อยในการผลิตยาเพื่อให้มีราคาถูกลง เพื่อผู้ป่วยยากไร้เข้าถึงยาได้ มีทั้งยาต้านไวรัสเอชไอวี มาลาเรีย และโรคอื่น ๆ
โดย ดร.กฤษณา ให้สัมภาษณ์ไว้ว่า ในไทยเมื่อปี 2535 มีผู้ป่วยเอดส์ถึง 150,000 คน มีแต่คนรวยเท่านั้นที่สามารถเข้าถึงการรักษาได้ ส่วนคนจนต้องตาย มันไม่ยุติธรรม ตอนนั้นผู้ป่วยต้องทานยา 3 เม็ดในตอนเช้า และอีก 3 เม็ดในตอนเย็น ดังนั้นตนเลยทำให้ตัวยาทั้ง 3 เม็ดอยู่ภายในเม็ดเดียว จนกระทั่งได้ยาที่ถูกที่สุดในโลก จากนั้นปี 2545 เดินทางออกจากประเทศไทยเพื่อไปช่วยเหลือคนต่อที่แอฟริกา
สำหรับประวัติ ดร.กฤษณา นั้น เป็นคนเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี มีพี่น้อง 2 คน บิดาเป็นแพทย์ ส่วนมารดาเป็นพยาบาล
จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว ได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา และดำรงตำแหน่งสุดท้ายในองค์การเภสัชกรรมคือผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์การเภสัชกรรม
ภายหลังลาออกจากองค์การเภสัชกรรมได้เริ่มต้นการทำงานในประเทศคองโกเป็นประเทศแรก และประสบความสำเร็จในการผลิตยาต้านเชื้อไวรัสเอดส์ชื่อ "Afrivir" โดยมีส่วนผสมเหมือนยาที่ผลิตในประเทศไทย หลังจากนั้นก็ได้ช่วยเหลือประเทศอื่นๆในทวีปแอฟริกากว่าอีก 4 ประเทศ ได้แก่ ประเทศเอริเทรีย แทนซาเนีย เบนิน และไลบีเรีย
ผลงานของ ดร.กฤษณาเป็นที่สนใจในวงกว้างขึ้น เมื่อมีการนำไปตีพิมพ์เป็นส่วนหนึ่งของบทความภาษาเยอรมัน และมีการสร้างภาพยนตร์สารคดีชีวประวัติ เรื่อง อะไลฟ์ทูลิฟ - เอดส์เมดิเคชันออฟมิลเลียนส์ (อังกฤษ: A Right to Live - Aids Medication for Millions) ในปี พ.ศ. 2549
รวมถึงการสร้างภาพยนตร์บรอดเวย์ชื่อ คอกเทลล์ (อังกฤษ: Cocktail) ในปี พ.ศ. 2550
นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (อังกฤษ: Global Scientist Award) จากมูลนิธิเลตเต็น ประเทศนอร์เวย์ ประจำปี พ.ศ. 2547
รางวัลบุคคลแห่งปีของเอเชียประจำปี พ.ศ. 2551
และรางวัลแมกไซไซสาขาบริการสาธารณะประจำปี พ.ศ. 2552

 

Manager online 06.12.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร