Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยระบุ 'แอลกอฮอล์' ทำลายร่างกายลึกถึงเซลล์ตั้งต้น   

          องค์การอนามัยโลกกำหนดให้แอลกอฮอล์เป็นสารก่อมะเร็งกลุ่มที่ 1 ซึ่งสะท้อนว่า มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนว่าแอลกอฮอล์สามารถทำให้เกิดมะเร็งในมนุษย์
          งานวิจัยล่าสุดแสดงให้เห็นว่า แอลกอฮอล์เป็นอันตรายต่อหน่วยพันธุกรรมมนุษย์ ข้อมูลนี้ช่วยอธิบายว่า เหตุใดมะเร็งสร้างความเจ็บป่วยแก่เรา
ผู้เชี่ยวชาญ K. J. Patel แห่งหน่วยงานวิจัย Medical Research Council กล่าวว่า การศึกษาชิ้นใหม่นี้ แสดงให้เห็นถึงกระบวนการตอบรับของร่างกายหลังการดื่มแอลกอฮอล์ และเปลี่ยนเป็นพลังงานที่นำไปสู่สารพิษที่ทำลายหน่วยพันธุกรรม
สารพิษดังกล่าวเรียกว่า acetaldehyde ซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยร่างกายเมื่อคนดื่มแอลกอฮอล์
K. J. Patel กล่าวว่า การสร้างความเสียหายในระดับของเซลล์ตั้งต้น หรือ stem cell ที่มีความสำคัญอย่างมาก เพราะ stem cell มีหน้าที่สร้างเซลล์อื่นๆ ของร่างกาย
ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตต่อมนุษย์ได้
นักวิยาศาสตร์แห่งหน่วยงานวิจัย Medical Research Council ผู้นี้กล่าวว่า การศึกษาพบว่าโครโมโซมจากเลือดเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นความผิดปกติ และการเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้เกิดมะเร็ง
งานวิจัยชิ้นนี้ยังทดลองประสิทธิภาพของ enzyme ชนิดหนึ่งที่ช่วยสลายสารพิษก่อมะเร็งด้วย โดย K. J. Patel ระบุว่า ผลการวิจัยในหนูชี้ว่า เมื่อ enzyme ชนิดนี้ถูกกำจัดออกไป ผลร้ายแอลกอฮอล์ต่อเซลล์เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
เขากล่าวว่า ร่างกายมนุษย์มี enzyme ดูแลกระบวนการ “ซ่อมพันธุกรรม” ที่เสียหาย แต่การดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากอาจทำให้กระบวนการป้องกันดังกล่าวไม่สามารถต้านผลร้ายจากสารพิษที่เกิดขึ้นได้ในที่สุด

 

Voice of America 12.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร