Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กู๊ดไอเดีย! สิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ “ชาร์ตแบตเตอร์รี่โทรศัพท์มือถือจากน้ำทะเล”  

          สตูล - นักเรียนวิทยาลัยเทคนิคสตูลหัวใจสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ในโครงงานวิจัยชื่อ “ชาร์ตแบตเตอร์รี่โทรศัพท์มือถือจากน้ำทะเล” หวังต่อยอดเป็นพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
          วันนี้ (18 ม.ค.) ที่ห้องสาขาวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคสตูล อาชีวศึกษาจังหวัดสตูล นักเรียนระดับชั้น ปวส.1 นำโดยนายธีรศักดิ์ พรมขจร หัวหน้าทีมโครงงานวิจัยชื่อ “ชาร์ตแบตเตอร์รี่โทรศัพท์มือถือจากน้ำทะเล” พร้อมเพื่อนร่วมทีมอีก 2 คนคือ นายซอลิฮิน ฮะหมัด และนายปฏิภาณ บุญนิยม ผลงานที่เกิดจากแนวคิดที่ว่า ประเทศไทยมีการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศเป็นหลัก จากแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ปริมาณการใช้น้ำมันทั้งหมดภายในประเทศยังมีแนวโน้มที่สูง การผลิตปิโตรเลียมภายในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้
อีกทั้ง จ.สตูล มีอาณาเขตติดทะเลฝั่งอันดามัน ซึ่งประกอบไปด้วยน้ำทะเลและสถานที่ท่องเที่ยวทางทะเลจำนวนมาก นักเรียนกลุ่มนี้จึงมีความคิดที่จะนำเอาการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้ำทะเลกับโลหะมาใช้ในการกำเนิดไฟฟ้า เพื่อลดการใช้ไฟฟ้า และความสะดวกในการใช้งานบริเวณริมทะเลโดยไม่ต้องต่อสายไฟมาไว้สำหรับที่จุดบริการต่างๆ สามารถนำน้ำทะเลมาเติมแล้วใช้ไฟฟ้าได้เลยเป็นการบริการประชาชนและนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวทะเลสตูลโดยการสร้าง Mobile Battery Charger เพื่อความสะดวกและยังสามารถช่วยลดโลกร้อนได้อีกด้วย
โดยโครงงานนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อใช้ในอนาคต เป็นอีกทางเลือกในการนำเอาน้ำทะเลมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการใช้ปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้ำทะเลกับโลหะต่างๆ ผ่านวงจรชาร์จแบตเตอร์รี่ เป็นการทดลองเพื่อใช้เป็นพลังงานทางเลือก โดยการนำไปใช้งานในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ และยังสามารถนำไปผลิตกระแสไฟฟ้าในเรือขนาดเล็ก เพื่อลดการใช้เครื่องปั่นไฟฟ้าและน้ำมันอีกด้วย
โดยประโยชน์ของการทดลองในครั้งนี้ น้องๆ บอกว่า สามารถสร้างเซลล์ไฟฟ้าสำหรับชาร์ตแบตเตอร์รี่โทรศัพท์มือถือจากน้ำทะเล Mobile Battery Charger สามารถนำไปต่อยอดเพื่อใช้งานในเรือขนาดเล็ก เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าได้โดยมีต้องใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ใช้ชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือนำไปเป็นพลังงานทดแทนในอนาคตได้
ผลการวิจัยจากการคำนวณหาค่าแรงดันสามารถผลิตกระแสไฟได้สูง 9 โวลต์ สามารถชาร์ตแบตโทรศัพท์มือถือได้ 2 ครั้ง ทั้งนี้แรงดันจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของน้ำทะเลที่นำมาใช้ในการทดลอง ที่จะต้องมีการไหลเวียนตลอดเวลาประกอบกับต้องมีการปรับปรุงให้รูปลักษณ์มีความสวยงามมากกว่านี้ และการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดลองให้มีความเล็กลง
นายสมชาย สุเหร็น ครูผู้สอน กล่าวว่า จะต้องมีการพัฒนารูปลักษณ์และอุปกรณ์ เพื่อต่อยอดสิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานต่อไป พลังงานจะมีแรงดันมากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของน้ำทะเล ซึ่งต่อไปในอนาคตสามารถประยุกต์เป็นเครื่องมือทดแทนเครื่องปั่นไฟได้ในอนาคต

Manager online 18.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร