Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ผลวิจัยชี้ส่วนผสม'ยาสีฟัน' สามารถรักษา'ไข้มาลาเรีย'ได้  

         ผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ชี้ว่า ส่วนผสมของยาสีฟันที่คนเราใช้กันนั้น สามารถนำไปพัฒนาเพื่อรักษาไข้มาลาเรีย
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ              

          เมื่อวันที่ 19 มกราคมว่า การวิจัยที่บางส่วนดำเนินการโดย”นักวิทยาศาสตร์หุ่นยนต์”ปัญญาประดิษฐ์ พบว่า  ส่วนผสมทั่วไปของยาสีฟัน สามารถนำไปพัฒนาเพื่อต่อสู้กับไข้มาลาเรียสายพันธุ์ดื้อยา
 ผลการศึกษาในวารสาร Scientific Reports ระบุว่า  คณะนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในอังกฤษ ซึ่งใช้หุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ดำเนินการวิจัย พบว่า ส่วนผสมของยาสีฟัน อย่าง ไตรโครซาน ( triclosan )  สารเคมีชนิดหนึ่งที่มักใช้ในการผลิตสบู่ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียและบางครั้งถูกใช้ผสมในยาสีฟัน และน้ำยาบ้วนปาก  สามารถนำไปพัฒนา และมีความเป็นไปได้ที่จะยับยั้งเชื้อมาลาเรียที่เข้าสู่ตับและกระแสเลือด
   มาลาเรียคร่าชีวิตผู้คนปีละประมาณ 500,000 คน ส่วนใหญ่เป็นเด็กในพื้นที่ยากจนของทวีปแอฟริกา  ทุกวันนี้ไข้มาลาเรียยังสามารถรักษาได้ด้วยยาบางตัว  แต่ก็มีไข้มาลาเรียหลายสายพันธุ์ดื้อยามากขึ้น  ทำให้เกิดความเสี่ยงว่า ไข้มาลาเรียอาจจะกลายเป็นโรคที่ไม่มียารักษาในอนาคต
 ดังนั้นจึงมีการวิจัยเพื่อพัฒนาตัวยาใหม่ เพื่อปราบไข้มาลาเรียที่ดื้อยา  นักวิทยาศาสตร์ทราบว่า  ไตรโครซานสามารถหยุดการเติบโตของปรสิตไข้มาลาเรียในกระแสเลือด  ขณะที่  อลิซาเบธ  บิลส์แลนด์  หนึ่งในผู้วิจัยบอกว่า  การค้นพบของหุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ว่า ไตรโครซานมีประสิทธิภาพในการต่อต้านไข้มาลาเรีย ก่อให้เกิดความหวังว่า มนุษย์อาจสามารถใช้ไตรโครซาน พัฒนาเป็นตัวยารักษาไข้มาลาเรียชนิดใหม่

 

Dailynews 19.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร