Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กท.วิทย์ดัน "กรุงเทพ"เมืองเริ่มต้นสตาร์ทอัพ  

          “สุวิทย์” เดินหน้าสำรวจความพร้อมย่านนวัตกรรมจากคลองสานสู่ปทุมวัน เผยกรุงเทพมีศักยภาพสูง เร่งส่งเสริมให้เป็นเมืองแห่งการเริ่มต้นของธุรกิจสตาร์ทอัพ
          วันนี้ ( 22 มค.61 ) ดร.สุวิทย์   เมษินทรีย์    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี    พร้อมผู้บริหารสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน )  หรือ สนช. นำคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่สำรวจความพร้อมในการส่งเสริมธุรกิจสตาร์ทอัพของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่ สนช. ให้การสนับสนุนใน 3 จุดสำคัญ คือ พื้นที่ในการสร้างกำลังคนสู่ธุรกิจสตาร์ทอัพ “เคเอ็กซ์”(KX) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี  ย่านคลองสาน  ศูนย์บ่มเพาะเพื่อเริ่มต้นธุรกิจสตาร์ทอัพ “ทรู อินคิวบ์” (True Incube) ที่สยามสแควร์ และ พื้นที่สร้างเครือข่ายสตาร์ทอัพ “วีโคซิสเต็ม”(Wecosytem) บนเกษร วิจเลจ    เพื่อส่งเสริมกรุงเทพฯ ให้เป็นเมืองแห่งการเริ่มต้นของธุรกิจสตาร์ทอัพ
ดร.สุวิทย์    กล่าวว่า  วันนี้ถือเป็นรูปธรรมอีกครั้งหนึ่งของสตาร์ทอัพไทยแลนด์   ที่มีการขยายไปสู่เรื่องของย่านนวัตกรรม  โดยเริ่มจากกรุงเทพ ฯ ซึ่งมีศักยภาพในการเป็นย่านนวัตกรรมสูง และมีภาคเอกชนและมหาวิทยาลัยเป็นจุดเริ่มต้น  โดยทั้ง  3 จุด คือที่  เคเอ็กซ์    ทรู อินคิวบ์และ  วีโคซิสเต็ม   ถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ และจะเป็น จุดเริ่มต้นในการผลักดันให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองแห่งการเริ่มต้นของสตาร์ทอัพ    เนื่องจาก กรุงเทพฯ ถือเป็นอันดับ 1 เมืองที่ดีที่สุดสำหรับชาวสตาร์ทอัพในเอเชีย  และเป็นอันดับ 7 ของโลก  เพราะมีตัวเลขของการเติบโตของธุรกิจสตาร์ทอัพที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยกรุงเทพฯ  ได้รับความสนใจในกลุ่มเทคโนโลยีทางการเงิน  หรือ  FinTech  และในกลุ่มอื่น ๆ ด้วย
ทั้งนี้ย่านนวัตกรรมของกรุงเทพ ฯ ที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ จะผลักดันให้เป็นเมืองแห่งการเริ่มต้นสตาร์ทอัพ ประ กอบไปด้วย ย่านโยธี ปทุมวัน คลองสาน รัตนโกสินทร์ กล้วยน้ำไท ลาดกระบัง ปุณณวิถีและบางซื่อ  จากนั้นจะขยายไปสู่ย่านนวัตกรรมในแนวระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก  อีก 4 ย่าน ได้แก่ บางแสน ศรีราชา พัทยา อู่ตะเภา – บ้านฉาง ก่อนจะขยายไปสู่กลุ่มเครือข่ายย่านนวัตกรรมภูมิภาค เช่น  เชียงใหม่ ขอนแก่น ภูเก็ตและฉะเชิงเทรา
ดร.สุวิทย์ กล่าวว่า   ปัจจุบันไทยมีผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ มีประมาณ  8 พันราย  โดยเป็นสตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยี รวมถึงสตาร์ทอัพจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ  ประมาณ  2, 400 ราย  ซึ่งกระทรวงวิทย์จะเร่งยกระดับสตาร์ทอัพเหล่านี้  โดยเชื่อมโยงความร่วมมือกับภาคเอกชนหรือประชารัฐ ใ นการเป็นผู้นำในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม  มีการสร้างสตาร์ทอัพที่เข้มแข็งในพื้นที่  หรือโลคอล สตาร์ทอัพ รวมถึงปลดล็อกข้อจำกัดต่าง ๆ เพื่อสร้างโอกาสให้สตาร์ทอัพสามารถทำธุรกิจนวัตกรรมได้ง่ายขึ้นอีกด้วย

Dailynews online 22.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร