Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ภาวะโลกร้อนทำให้ 'เต่าเขียวทะเล' เป็นเพศเมียมากกว่าเพศผู้  

          เวลานี้ เต่าเขียว (Green Turtle) เกือบทั้งหมดที่อาศัยอยู่ที่ตอนเหนือของแนวปะการังยักษ์เกรทแบร์ริเออร์รีฟ (Great Barrier Reef) ในออสเตรเลีย เป็นเพศเมีย
          ผลการศึกษาชิ้นหนึ่งเกี่ยวกับเต่าเขียว 200,000 ตัวในบริเวณนี้พบว่าเกือบทั้งหมดเป็นเต่าตัวเมีย
ผลการวิจัยนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Current Biology ไปเมื่อเร็วๆ นี้ เเละเกิดความกังวลว่า ความอยู่รอดของเต่าพันธุ์นี้ซึ่งจัดว่าเป็นเต่าที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อยู่เเล้ว จะยิ่งน่าเป็นห่วงขึ้นไปอีก
ส่วนทางด้านใต้ของแนวปะการังยักษ์ Barrier Reef ที่สภาพน้ำเย็นกว่า ทีมนักวิจัยพบว่าราว 2 ใน 3 ของประชากรเต่าในพื้นที่เป็นตัวเมีย
ทีมนักวิจัยบอกว่า พวกเขาหวังว่าสภาพภูมิอากาศจะไม่ร้อนจัดเกินไปในช่วงหลายปีต่อจากนี้ เพื่อช่วยให้มีเต่าตัวผู้เพิ่มขึ้น เเต่หลายคนบอกว่าอากาศน่าจะร้อนขึ้นกว่าเดิมต่อไป
อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่ามีวิธีแก้เเก่ปัญหาการมีประชากรเต่าตัวเมียมากกว่าตัวผู้ นั่นก็คือการกางเต็นท์บนหาดทรายที่มีรังไข่ของเต่าฝังอยู่ข้างใต้ เพื่อเป็นร่มกันแดดเเก่ไข่เต่า
ด็อกเตอร์ โคลิน ลิมพุส (Colin Limpus) หัวหน้านักวิทยาศาสตร์แห่งควีนสเเลนด์ (Queensland) กล่าวว่า การทำฝนเทียมก็เป็นอีกทางออกหนึ่งเเก่ปัญหานี้ เพราะว่าฝนจะช่วยลดอุณหภูมิของทรายที่มีรังไข่เต่าอยู่ข้างใต้ลงได้อย่างทั่วถึงในเวลาเดียวกัน เเละช่วยลดความไม่สมดุลของจำนวนลูกเต่าเพศเมียลง เเละเพิ่มจำนวนลูกเต่าเพศผู้ให้มากขึ้น
เต่าเขียวเป็นหนึ่งในเต่าทะเลพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เเละเป็นเต่าที่กินเฉพาะพืชเป็นอาหารเพียงสายพันธุ์เดียวในบรรดาเต่าพันธุ์ต่างๆ เต่าเขียวถูกตั้งชื่อตามสีของกระดูกอ่อนเเละไขมันที่ออกเป็นสีค่อนข้างเขียว ไม่ได้ตั้งชื่อตามสีของกระดอง
เต่าพันธุ์นี้จัดว่าเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ เพราะถูกคุกคามจากการสูญเสียเเหล่งที่อยู่ การล่าเต่าเกินพอดีเพื่อเอาไข่ เเละการล่าเต่าที่โตเต็มวัย
แนวปะการังยักษ์ของออสเตรเลียมีความยาวถึง 2,300 กิโลเมตร ตลอดเเนวชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย เเละเป็นที่อยู่ของสัตว์ทะเลหลากหลาย รวมทั้งปลาฉลามมากกว่า 130 สายพันธุ์ หนอนทะเล 500 กว่าชนิด เเละปลาอีก1,600 ชนิด
เเนวปะการังยักษ์เกรทแบร์ริเออร์รีฟของออสเตรเลียกำลังเจอกับการคุกคามหลายด้านจากมลพิษจากยาฆ่าเเมลง เเละดินจากพื้นที่การเกษตรที่ไหลลงไปในทะเล เเละอุณหภูมิของน้ำทะเลที่อุ่นขึ้นก็ทำให้เกิดภาวะปะการังกัดขาวในช่วงสองปีที่ผ่านมา

 

Voice of America 24.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร