Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'คอมพิวเตอร์' ชนะมนุษย์ในการแข่งอ่านจับใจความ แต่พลาดในการตีความคำง่ายๆ  

         เมื่อ 7 ปีก่อน ข่าวเรื่องความสามารถของคอมพิวเตอร์ที่ผู้คนให้ความสนในมากข่าวหนึ่ง คือการแข่งขันระหว่างมนุษย์กับปัญญาประดิษฐ์ ในเกมส์ทดสอบความรู้รอบตัว Jeopardy!
ในครั้งนั้นคอมพิวเตอร์เป็นฝ่ายชนะ และหลังจากนั้น นักประดิษฐ์เพิ่มพูนความเฉียบแหลมของปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI)
          ล่าสุดในเดือนนี้ ระบบ AI ที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ของสหรัฐฯ และอาลีบาบาของจีน สามารถเอาชนะมนุษย์ในการอ่านจับใจความในแบบทดสอบของมหาวิทยาลัย Stanford
ชัยชนะของคอมพิวเตอร์ล่าสุด บ่งชี้ถึงความรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลและบริการผู้ช่วยผ่านคำสั่งเสียง ซึ่งเป็นงานที่จะใช้ได้อย่างกว้างขวางสำหรับการให้บริการสุขภาพและสาขาอื่นๆ
แม้จะดูว่า AI มีความสามารถอ่านจับใจความเร็วกว่ามนุษย์ นักวิจัยศึกษาคำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบผิด และพบว่าปัญญาประดิษฐ์ยังมีข้อจำกัดบางอย่างอยู่ และยากที่จะเทียบความฉลาดของคอมพิวเตอร์กับความฉลาดของมนุษย์
เควิน สก็อตต์ หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีของบริษัทไมโครซอฟท์กล่าวว่า ยังมีงานที่ต้องทำอีกมากมาย กว่าที่คอมพิวเตอร์จะสามารถตีความเนื้อหาตัวอักษรได้เช่นเดียวกับคน
ในข้อสอบของมหาวิทยาลัย Stanford คอมพิวเตอร์สามารถตอบคำถามถูกต้องจากการค้นหาข้อมูลในสารานุกรมออนไลน์ Wikipedia สำหรับคำถามที่เฉพาะเจาะจง เช่นการครองอำนาจของ เจง กีสข่าน
แต่ปัญญาประดิษฐ์ไม่สามารถตอบถูกในคำถามง่ายๆ เกี่ยวกับอเมริกันฟุตบอล และไม่สามารถตีความคำว่า ‘most’ ซึ่งแปลว่า ‘ที่สุด’ ได้อย่างกระจ่างชัด
อาจารย์ ไมเคิล ลิทท์แมน (Michael Littman) ที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์แห่งมหาวิทยาลัย Brown กล่าวว่า สำหรับโจทย์บางชนิด เป็นไปไม่ได้ที่ปัญญาประดิษฐ์จะสามารถทำงานได้ดีกว่ามนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นผู้กำหนดว่าคำตอบที่ถูกต้องคืออะไร
เขากล่าวว่า ที่น่าประทับใจคือการที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ดีเท่ามนุษย์ ไม่ใช่เพราะทำได้ดีกว่าคน ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า AI ไม่ใช่เป็นผู้กำหนดมาตรฐานความถูกต้อง

 

Voice of America 25.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร