Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทยาศาสตร์ใช้ข้อมูลดาวเทียมศึกษาปลาฉลามเสี่ยงสูญพันธุ์   

          ทุกวัน มีเรือประมงเพื่อการค้าขนาดใหญ่หลายพันลำเดินทางข้ามมหาสมุทรทั่วโลกเพื่อจับปลา
          การเดินทางในมหาสมุทรเเห่งต่างๆ ทั่วโลกของเรือประมงมากกว่า 6,000 ลำ ถูกเฝ้าติดตามผ่านระบบแผนที่ทางอินเตอร์เน็ทที่เรียกว่า "Global Fishing Watch" ซึ่งคนทั่วไปสามารถใช้ได้ฟรี ระบบนี้จัดตั้งโดยหน่วยงานนานาชาติปกป้องสัตว์ โอเชียนน่า (Oceana) ที่ได้รับความร่วมมือจาก บริษัทสกายทรูธ (Sky Truth) กับบริษัทกูเกิล (Google) เเละใช้ข้อมูลที่ได้จากบริษัทดาวเทียมเอกชนหลายเเห่ง
เลซี่ มาลาร์คี (Lacey Malarky) นักวิเคราะห์เเห่งโอเชียนน่า กล่าวว่า ระบบนี้ใช้ในการเฝ้าติดตามดูพื้นที่ทะเลที่ได้รับการปกป้อง เพื่อติดตามดูว่าเรือประมงเข้าไปล่าปลาในบริเวณหวงห้ามหรือไม่ รัฐบาลของประเทศต่างๆ ที่ขาดแคลนทรัพยากรสามารถใช้ระบบแผนที่ทางดาวเทียมทางอินเตอร์เน็ทนี้ ไปใช้ในการเฝ้าติดตามน่านน้ำของประเทศตน ซึ่งเป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายต่ำ
เรือประมงมักจับได้ปลาเเละสัตว์น้ำที่ไม่ได้เป็นเป้าหมายติดร่างเเหหรืออวนมาด้วยอย่างไม่จงใจ ที่เรียกกันว่า bycatch ซึ่งรวมทั้งปลาฉลาม
มีปลาฉลามมากถึง 273 ล้านตัวติดร่างแหต่อปี ส่วนมากเป็นปลาฉลามที่เรียกว่า blue sharks เเละเนื่องจากปลาฉลามพันธุ์นี้ไม่มีมูลค่าทางการค้า จึงมักถูกทิ้งลงทะเลไปโดยเปล่าประโยชน์ เเละมักไม่มีการบันทึกจำนวนเอาไว้
ปลาที่ถูกจับได้โดยเรือประมงอย่างไม่จงใจนี้ เป็นปัญหาที่น่ากังวลเพราะทำให้ประชากรปลาฉลามลดลง
ในเดือนมิถุนายน ปี 2016 ทีมนักวิจัยปลาฉลามจากมหาวิทยาลัยเเห่งไมอามี่ (University of Miami) เเละทีมงานจากหน่วยงาน บีนีท เดอะ เวฟส์ (Beneath the Waves) ทำการติดอุปกรณ์เฝ้าติดตามปลาฉลาม blue sharks จำนวน 10 ตัว ที่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐฯ
เเละหน่วยงานโอเชี่ยนน่ากับบริษัทผู้ร่วมมือในโครงการ ได้รวมเอาข้อมูลที่จัดเก็บได้โดยระบบ Global Flishing Watch ไปจัดทำเป็นแผนที่ออกมาเป็นครั้งเเรก ที่เเสดงถึงการตอบสนองระหว่างเรือประมงกับปลาฉลาม
เลซี่ มาลาร์คี นักวิเคราะห์เเห่งโอเชียนน่า กล่าวว่า ด้วยเทคโนโลยีดาวเทียมเเละอินเตอร์เน็ทที่ทันสมัย ทีมงานสามารถใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อประมาณจำนวนของปลาฉลามสายพันธุ์เป้าหมาย ว่าอาจถูกจับโดยเรือประมงอย่างไม่จงใจจำนวนเท่าไร เพื่อช่วยสร้างความตื่นตัวเเละความเข้าใจถึงความเสี่ยงของปลาฉลามพันธุ์นี้
โอเชียนน่าหวังว่า การรวมเอาข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันหลังจากได้รับสัญญาณมาจากสัตว์ที่มีอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียมที่ติดเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นปลาฉลาม เต่า ปลาโลมา หรือสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ชนิดอื่นๆ จะช่วยให้ทางการในประเทศต่างๆ ออกมาตรการอนุรักษ์มารับรอง อาทิ การควบคุมการประมงหรือการปิดพื้นที่บางจุดไม่ให้การทำประมง
ผู้สนใจสามารถค้นหาแผนที่เเสดงการประมงแบบอินเตอร์แอ็คทีฟนี้ได้ที่เว็บไซต์ www.globalfishingwatch.org

 

Voice of America 27.01.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร