Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

2 นวัตกรรมแว่นตาอัจฉริยะ รอดหรือร่วง?!   

          ในช่วงที่ผ่านมาจะเห็นว่าเทคโนโลยีที่ห้อยท้ายว่าอัจฉริยะมักจะได้รับความนิยม เว้นเสียแต่ “แว่นตาอัจฉริยะ” ที่ไปปรากฏอยู่ในพิพิธภัณฑ์แห่งความล้มเหลว ตั้งแต่ยังไม่ทันได้วางขายอย่างเป็นทางการ
          ล่าสุด 2 บริษัทด้านเทคโนโลยียังไม่หยุดที่จะพัฒนาแว่นตาเหล่านี้ โดยผนึกกำลังกับเทคโนโลยีเสมือนจริง หรือ VR เพื่อสร้างความน่าสนใจและดึงยอดขายผู้คลั่งไคล้เทคโนโลยีกลับมาอีกครั้ง
แว่นตารุ่นแรก ภายนอกดูเหมือนกับแว่นตากันแดดแบบสปอร์ตหน้าตาธรรมดา แต่จริงๆแล้วนี่คือทายาทของแว่นตาอัจฉริยะ Google Glass กับกล้อง GoPro ที่มีชื่อว่า ORBI Prime ผลิตโดยบริษัท Orbi ซึ่งเป็นโครงการระดมทุนในเว็บไซต์ Indiegogo
ความพิเศษของแว่นตา ORBI Prime คือ กล้อง 4 ตัวรอบกรอบแว่น ด้านหน้า 2 ตัว และตรงขาแว่นทั้ง 2 ข้าง สามารถถ่ายภาพนิ่งและวิดีโอแบบ 360 องศา ด้วยความคมชัดระดับ 4K และยังพ่วง Wi-Fi ให้คุณสามารถถ่ายและแชร์บนสื่อสังคมออนไลน์ได้ทันใจ หรือจะเก็บไว้ตัดต่อเป็นคลิปวิดีโอใน SD Card ได้เช่นกัน นอกจากนี้แว่นตายังกันน้ำกันเหงื่อ เหมาะกับผู้ที่ชื่นชอบกิจกรรมผาดโผน
อาดิล ซูรันชิน ทีมงานของ Orbi อธิบายว่า ORBI Prime จะทำให้คุณถ่ายภาพและคลิปวิดีโอโดยไม่ต้องพึ่งพาอุปกรณ์มากมาย โดยกล้องแต่ละตัวบนแว่นจะมีระยะถ่ายภาพ 180 องศา ซึ่งทั้ง 4 ตัวรวมกันจะครอบคลุมการถ่ายภาพและวิดีโอแบบ immersive ได้ดีเยี่ยม
ส่วนเรื่องความเป็นส่วนตัวที่หลายคนกังวล ORBI Prime จะปรากฏไฟ LED เมื่อมีการถ่ายวิดีโอ เพื่อส่งสัญญาณให้คนรอบข้างทราบว่ามีการถ่ายวิดีโอเกิดขึ้น
ใครสนใจอยากได้มาครอบครอง ก็จับจองกันได้ ที่ราคา 399 ดอลลาร์ หรือราว 12,000 บาท และจะเริ่มทยอยส่งล็อตแรกในเดือนสิงหาคมนี้​
ส่วนแว่นตาอีกรุ่นเกาะกระแสเทคโนโลยีเสมือนจริง หรือ VR อีกเช่นกัน แต่เหนือกว่าด้วยเทคโนโลยี VR ที่สัมผัสจับต้องบนโลกเสมือนจริงได้ โดยแว่นตา VR รุ่นนี้มีชื่อว่า Go Touch VR ซึ่งตั้งตามชื่อของบริษัทสัญชาติฝรั่งเศสที่คิดค้นแว่นตา VR ที่เพิ่มการสัมผัสเข้าไป เพื่อทลายข้อจำกัดของ VR ที่ไม่สามารถจับต้องได้ออกไป
หลักการ คือ ตัวแว่นตา VR ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่คล้ายกับเครื่องตรวจชีพจร ซึ่งจะต้องติดบนนิ้วของผู้สวมใส่แว่นตา VR ที่นิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง ทำหน้าที่ส่งผ่านแรงสัมผัสที่เกิดขึ้นบนโลกเสมือนจริงให้ผู้สวมใส่สามารถรู้สึกถึงแรงสัมผัสได้
เอริค เวซโซลี่ ผู้ก่อตั้ง Go Touch VR เชื่อมั่นว่า อุปกรณ์ของเขาจะเป็นใบเบิกทางสำหรับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยบนโลกเสมือนจริง ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการฝึกฝนในหลายสาขาอาชีพที่มีความเสี่ยงหรืออันตรายถึงชีวิต เช่น การฝึกผ่าตัดกับคนไข้บนโลกเสมือนจริง หรือการฝึกฝนในกองทัพ หรือจะใช้ในการโฆษณา เช่น การเข้าชมห้องตัวอย่างเสมือนจริง ที่เปิดโอกาสให้ลูกค้าลองเปิดตู้เก็บของ สัมผัสเตียงนุ่มๆในห้องพัก เพื่อเพิ่มยอดขายได้ดี

 

Voice of America 8.02.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร