Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

งานวิจัยจุฬาฯ ซัดเต็มๆ “พาราควอต” ตกค้างในสิ่งแวดล้อม  

          ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยืนยันถึงการตรวจพบสารพิษกำจัดศัตรูพืช “พาราควอต” ตกค้างในสิ่งแวดล้อมจริง
โดยสารชนิดนี้ปนเปื้อนอยู่กับสัตว์น้ำ เช่น ในกบหนอง ปูนา หอยกาบน้ำจืด และปลากะมัง ตัวเลขที่ตรวจพบมีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐานความปลอดภัยสำหรับอาหาร จนทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายผู้บริโภคได้
งานวิจัยดังกล่าวนี้ดำเนินการเพื่อเฝ้าระวังสารกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่เกษตรกรรม อ.เวียงสา จ.น่าน โดยการศึกษาสารกำจัดวัชพืชทั้งไกลโฟเซต พาราควอต และอะทราซีน โดยพบว่า
-ในกบหนอง มีสารกำจัดวัชพืชสะสมอยู่ในตัว พบว่าตับมีขนาดใหญ่ขึ้น น้ำหนักตัวลดลง และมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่ำลง
-ในปูนาในพื้นที่นาข้าว พบว่ามีสารกำจัดวัชพืชทั้งสามชนิดสะสมในตัวปู มีน้ำหนักลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะสันฐาน
-หอยกาบน้ำจืดในหนองน้ำใกล้พื้นที่นา มีสารกำจัดวัชพืชสะสมในตัวหอย น้ำหนักตัวลดลง และมีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์และการเจริญ
-ส่วนในปลากะมังในแม่น้ำน่าน พบว่ามีสารกำจัดวัชพืชสะสมในตัว มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของตับและไต และมีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์
จากงานวิจัยชิ้นนี้ได้มีการเผยแพร่เนื่องในโอกาสครบหนึ่งร้อยปีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย " Chula Expo 2017 - จุฬาฯร้อยปี นวัตกรรม คิดทำเพื่อสังคม" จึงตอกย้ำถึงปัญหาผลกระทบของพาราควอตจากพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และกำลังส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค
หลังจากที่ก่อนหน้านี้ เคยมีการเผยแพร่งานวิจัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยมหิดล ที่พบการตกค้างของพาราควอตในดิน น้ำ และแม้แต่ในทารกแรกเกิดเช่นเดียวกัน
อ้างอิงจาก เฟซบุ๊ก เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไทยแพน (Thai-PAN)

 

Managr online 19.03.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร