Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

วท. ตั้ง “โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม” สร้างวิศวกร – นักวิจัยแก้ขาดแคลน  

           วท. ตั้ง “โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม” สร้างวิศวกรแก้ขาดแคลน แฉตลาดมีความต้องการมากเป็นอันดับ 1 ร้อยคนต้องการถึง 17 คนแต่ผลิตได้แค่ 6 คน พร้อมตั้งเป้าอีก 4 ปีสร้างนักวิจัยด้าน วทน. เพิ่มเป็น 25 คนต่อประชากรหนึ่งหมื่นคนจากปัจจุบันมีเพียง 13 คน ลุยจับมือ 30 โรงเรียนมัธยมศึกษา 50 อาชีวะ ก่อนขยายเครือข่ายเพิ่มอีก 150 โรงทั่วประเทศ
          เมื่อวันที่ 22 มี.ค. ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ วท. กำลังดำเนินโครงการจัดตั้งโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) สำหรับเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบิ๊กร็อก (Big Rock) เพื่อส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจภายในประเทศ ในส่วนของวิทย์สร้างคน โครงการดังกล่าวจัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพราะภายในปี 2565
ประเทศไทยได้ตั้งเป้าหมายในการเพิ่มจำนวนนักวิจัยให้เป็น 25 คนต่อประชากร 10,000 คน จากปัจจุบันที่มีเพียง 13 คน เพื่อให้สามารถรองรับความต้องการการพัฒนาของประเทศบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ได้อย่างเพียงพอ โดยเฉพาะกำลังคนด้านวิศวกรที่กำลังขาดแคลน ทั้งนี้ จากผลการสำรวจภาพรวมของตลาดแรงงานไทย พบว่าวิศกรเป็นหนึ่งในอาชีพในประเทศไทยที่มีจำนวนผู้สมัครไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งวิศวกรวิจัย วิศวกรออกแบบ วิศวกรปฎิบัติหรือนวัตกร เป็นต้น ซึ่งสายงานวิศวกรมีความต้องการจ้างงานสูงเป็นอันดับ 1 คือ ร้อยละ 17.1 แต่จำนวนผู้สมัครมีเพียงร้อยละ 6.6 เท่านั้น ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกร จึงจำเป็นต้องบ่มเพาะตั้งแต่ระดับประถมถึงมัธยมศึกษา อาชีวะศึกษา พร้อมกับนำแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM) มาใช้ในการเสริมสร้างความเข้าใจและทักษะของศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ผ่านโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม ที่จะเป็นสถานที่ฝึกการเรียนรู้ ทดลอง และลงมือสร้างชิ้นงานต่างๆ ทั้งสร้างหุ่นยนต์ โดรน สมาร์มฟาร์มเมอร์ ฯลฯ และนวัตกรรมในรูปแบบใหม่
รมว.วท. กล่าวต่อว่า เบื้องต้นโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม จะร่วมมือกับโรงเรียนที่มีความพร้อม จำนวน 30 โรงในเครือข่ายโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย และโรงเรียนในโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยของ วท. กับ 50 วิทยาลัยเทคนิคทั่วประเทศ อาทิ วท.ชลบุรี วท.กำแพงเพชร วท.ปราจีนบุรี วท.เพชรบุรี วท.พังงา วท.นครศรีธรรมราช วท.ปัตตานี วท.ตรัง วท.จันทบุรี วท.มาบตาพุด วท.ลำพูน วท.น่าน วท.เชียงราย วท.อุดรธานี วท.อุบลราชธานี วท.สกลนคร เป็นต้น เริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน เม.ย.นี้ โดยใช้บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. จ.ปทุมธานี เป็นพื้นที่ต้นแบบให้อาจารย์จากสถานศึกษาต่างๆ ได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาเรียนรู้และนำไปพัฒนาต่อยอดในสถานศึกษาของตนเอง รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชน ทั้งที่อยู่ในโครงการที่ สวทช. ดูแลอยู่ เช่น เด็ก JSTP:Junior Science Talents Project) และนักเรียน นักศึกษาทั่วไปที่สนใจ ได้เรียนรู้วิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ เช่น วิศวกรรมไฟฟ้า โยธา เครื่องกล เคมีฯลฯ จากนั้นจะขยายผลในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอาชีวะศึกษาที่มีความพร้อมอีก 150 แห่งในทุกภูมิภาค

Manager online 22.03.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร