Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ห้องทดลองในอังกฤษพัฒนาวิธีทดลองยาชนิดใหม่กับหัวใจที่เต้นเหมือนจริง  

          บริษัทเทคโนโลยีอังกฤษใช้เนื้อเยื่อหัวใจของมนุษย์ที่ได้รับบริจาคมา ในการศึกษาวิจัยเรื่องจังหวะการเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจ เพื่อช่วยในการทดสอบยาชนิดใหม่
          ห้องทดลอง InoCardia ในเมืองโคเวนทรี ประเทศอังกฤษ กำลังศึกษาจังหวะการเต้นของหัวใจของมนุษย์ โดยใช้เนื้อเยื่อจากหัวใจที่ได้รับบริจาคมา แล้วกระตุ้นด้วยอุปกรณ์กำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก เพื่อจำลองจังหวะการเต้นและการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจในขณะที่อยู่ในร่างกายของมนุษย์จริงๆ
คุณเฮเลน แมดด็อค (Helen Maddock) ผู้ก่อตั้งห้องทดลอง InoCardia กล่าวว่า การทดลองลักษณะนี้จะช่วยให้นักวิจัยสามารถศึกษาถึงจังหวะการเต้น ความถี่ และการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจที่กำลังทำงาน ได้อย่างละเอียด
เธอกล่าวว่า เมื่อทดลองด้วยการใส่ตัวยาชนิดใดชนิดหนึ่งลงไปในกล้ามเนื้อนั้น นักวิจัยก็จะสามารถคาดทำนายถึงผลที่จะเกิดขึ้นในการทดลองได้อย่างแม่นยำ เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาในขั้นต่อไป ซึ่งอาจเป็นการทดลองกับมนุษย์จริงๆ
ปัจจุบัน วิธีการทดลองผลของยาชนิดใดชนิดหนึ่ง ยังใช้กล้ามเนื้อหัวใจแบบอยู่นิ่งๆ กับที่ ซึ่งคุณแมดด็อคบอกว่าไม่สามารถให้ข้อมูลที่แม่นยำเท่ากับการใช้กล้ามเนื้อที่จำลองการเต้นของหัวใจมนุษย์
คุณเฮเลน แมดด็อค ยังบอกด้วยว่า เทคโนโลยีที่ห้องทดลอง InoCardia ยังสามารถช่วยให้นักวิจัยระบุถึงสารพิษหรือสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตัวยาที่ทำการทดสอบ ก่อนที่จะมีการลงทุนมหาศาลเพื่อผลิตยาชนิดนั้นออกมา
ผู้ก่อตั้งห้องทดลอง InoCardia ผู้นี้บอกว่า แนวคิดสำคัญของการทดลองที่ว่านี้ คือการพัฒนายาที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว และเพิ่มศักยภาพในการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจโดยไม่มีผลข้างเคียงมากเกินไป
ห้องทดลอง InoCardia ระบุว่า วิธีนี้ยังช่วยลดการใช้สัตว์ในการทดลองซึ่งอาจทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนได้ โยขณะนี้ได้มีความร่วมมือกับบริษัทผู้ผลิตยาต่างๆ หลายแห่ง เพื่อนำเทคโนโลยีจำลองจังหวะการเต้นของหัวใจนี้ไปใช้มากขึ้นแล้ว

 

Voice of America 23.03.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร