Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

โล่ง "เทียนกง-1" ตกแล้วลงแปซิฟิกตอนใต้  

         จิสด้าเผยหน่วยงานจีนรายงานการตกของเทียนกง-1 ว่าตกลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ไม่มีรายงานความเสียหายและผู้ได้รับบาดเจ็บ ส่วนชิ้นส่วนตามกฎหมายเป็นของจีน
          สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือจิสด้า เผยว่า เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2561 หน่วยงานติดตามและรายงานสถานการณ์ของสถานีอวกาศเทียนกง-1 ของจีน หรือ China Manned Space Agency: CMSE ประกาศผ่านทางเว็บไซต์ว่า เมื่อเวลา 08.15 น. ตามเวลาท้องถิ่น หรือ 07.15 น.ตามเวลาในประเทศไทย สถานีอวกาศเทียนกง-1 ของจีน ได้ตกสู่พื้นโลกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โดยไม่มีรายงานความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ดร.สิทธิพร ชาญนำสิน ผู้เชี่ยวชาญด้านกลศาสตร์วงโคจร จากสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือจิสด้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดเผยว่า สถานีอวกาศเทียนกง-1 ของจีนได้ตกสู่พื้นโลกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โดยสถานีอวกาศเทียนกง-1 ได้ถูกเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ และแตกเป็นชิ้นส่วนขนาดเล็ก
อย่างไรก็ตาม ตามกฎหมายระหว่างประเทศนั้น ชิ้นส่วนสถานีอวกาศเทียนกง-1 เป็นสมบัติของจีนที่ห้ามใครเก็บไว้เป็นของส่วนตัว และหากใครพบชิ้นส่วนดังกล่าวให้แจ้งแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น หากชิ้นส่วนอวกาศ ส่งผลให้เกิดอันตรายหรือสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน รัฐบาลของประเทศเจ้าของดาวเทียมหรือสถานีอวกาศ จะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายที่เกิดขึ้น
ทั้งนี้ สถานีอวกาศ ‘เทียนกง-1’ ของจีน ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรของโลกเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 จากฐานปล่อยจรวดเมืองจิ๋วฉวน มณฑลกานซู มีวงโคจรห่างจากโลก 350 กม. มีขนาด 8.5 ตัน และเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของจีน โดยสถานีอวกาศเทียนกง ได้ถูกส่งขึ้นไปเพื่อทดสอบปฏิบัติการหลายอย่างในอวกาศ เพื่อเตรียมการขั้นต้นสำหรับการสร้างสถานีอวกาศของจีนให้เสร็จสิ้นภายในปี 2563
เทียนกง-1 มีความพิเศษไม่เหมือนกับยานลำก่อนๆ ของจีน ซึ่งภายในตัวยานได้ติดตั้งระบบการเชื่อมต่อไว้มากมาย รวมถึงเตรียมรอรับการเชื่อมต่อยานอวกาศไร้มนุษย์เสิ่นโจว 8 ซึ่งนับได้ว่าเป็นครั้งแรกของจีนที่จะเชื่อมต่อยานอวกาศที่เคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร และจีนจะเป็นประเทศที่ 3 ต่อจาก สหรัฐฯ และรัสเซียที่มีเทคโนโลยีในการเชื่อมต่อยานอวกาศในวงโคจร
ตามกำหนดแล้วเทียนกง-1 จะต้องถูกควบคุมให้กลับสู่โลกลงสู่ทะเล หรือเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ แต่เมื่อเดือนมีนาคม 2559 คณะผู้แทนถาวรจีนประจำสหประชาชาติ แจ้งไปยังว่าองค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) จะดำเนินการปลดระวางสถานีอวกาศเทียนกง-1 และได้ตกสู่พื้นโลกในที่สุด

 

02.04.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร