Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยคิดค้นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตรวจโรคหัวใจได้เเม่นยำ   

          ผู้เชี่ยวชาญกำลังใช้เครื่องสแกนหัวใจเพื่อตรวจดูการทำงานของหัวใจของคนไข้ อุปกรณ์ที่ทันสมัยนี้ช่วยให้แพทย์สามารถมองเห็นการทำงานของหัวใจได้อย่างละเอียด ซึ่งส่งผลให้การวินิจฉัยโรคมีประสิทธิภาพมากขึ้น
          พอล ลีสัน (Paul Leeson) หทัยแพทย์ชาวอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัยแห่ง อ็อกฟอร์ด กล่าวว่า บรรดาหทัยแพทย์โดยเฉลี่ยจะวินิจฉัยได้ถูกต้องราว 80 เปอร์เซ็นต์ บางคนอาจวินิจฉัยได้ดีมาก บางคนทำได้ดีกว่า และบางคนอาจวินิจฉัยได้ไม่ดีเท่า เขาคิดว่าระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้วินิจฉัยการทำงานของหัวใจระบบใหม่นี้จะช่วยแพทย์วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องทุกครั้ง
นายแพทย์ลีสัน ได้ร่วมมือกับ รอสส์ อัพตัน (Ross Upton) นักหทัยวิทยาอีกคนหนึ่ง พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในการตรวจหาความผิดปกติของหัวใจ โดยเรียกโปรแกรมนี้ว่า อัลทรอมิกส์ (Ultromics) พวกเขากล่าวว่า ยิ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีข้อมูลในการศึกษามากขึ้น ก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
รอสส์ อัพตัน หทัยแพทย์อังกฤษ กล่าวว่า ตนเองและลีสันเริ่มต้นด้วยการดึงภาพหัวใจและการวินิจฉัยโรค 10 – 20 ชิ้น และตอนนี้เพิ่มขึ้นเป็น 80,000 ภาพ ซึ่งมากกว่าที่คาดเอาไว้ในตอนแรก
สำหรับหทัยแพทย์ทุกคนที่นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ไปทดลองใช้ การทดสอบนี้เป็นงานที่จริงจังมากเพราะหมายถึงชีวิตของคนไข้
รอสส์ อัพตัน กล่าวว่า การวินิจฉัยโรคผิดพลาดมีผลกระทบตามมาใหญ่หลวง เพราะอาจหมายความว่าคนไข้ต้องเข้ารับการผ่าตัดทั้งที่ไม่จำเป็น หรือ อาจจะแย่ไปกว่านั้น คือแพทย์อาจจะส่งคนไข้กลับบ้าน เพราะคิดว่าไม่ป่วย ทั้งๆ ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และคนไข้อาจจะเกิดอาการหัวใจวายภายนอกโรงพยาบาล ทั้งๆ ที่คนไข้ควรเข้ารับการผ่าตัดทันที
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตรวจโรคหัวใจ อัลทรอมิกส์ ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้หลายอย่างด้วยกัน
รอสส์ อัพตัน หทัยแพทย์ชาวอังกฤษ กล่าวว่า มีโรคที่เกี่ยวกับหัวใจมากมายหลายอย่าง อาทิ โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคความดันเลือดสูง โรคเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อหัวใจ และทีมงานต้องการปรับปรุงการวินิจฉัยโรคเหล่านี้ด้วยโปรแกรมอัลทรอมิกส์ เพื่อช่วยคนไข้ที่เป็นโรคเหล่านี้ให้ได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง
ทีมนักวิจัยวางแผนที่จะพัฒนาให้โปรแกรมอัลทรอมิกส์ ออกมาใช้ในโรงพยาบาลต่างๆ ของอังกฤษภายในปลายปีนี้

 

Voice of America 03.04.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร