Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทย์จีนยืนยัน ค้างคาว เป็นตัวการแพร่ โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่  

          ซินหวา— ทีมนักวิจัยจีนพบ โคโรนาไวรัสในค้างคาวมงกุฎ (horseshoe bats) พร้อมกับยืนยันว่า เป็นตัวการที่สังหารสุกร ราว 25,000 ตัว ในจีน
          สืบเนื่องจากกรณีที่มีลูกหมูแรกเกิดในฟาร์มที่มณฑลกว่างตง มีอาการป่วยอย่างไม่รู้สาเหตุที่มาที่ไป คือ มีอาการท้องร่วง อาเจียน และตาย โดยเป็นกรณีที่เกิดขึ้นระหว่างปี 2016 และ 2017
กลุ่มนักวิจัยได้ตั้งข้อสงสัยเบื้องต้นว่า มาจากเชื้อโรคไวรัสที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงติดต่อในสุกร หรือโรคพีอีดี (porcine epidemic diarrhea virus ชื่อย่อ PEDV) แต่ต่อมาเมื่อนักวิทยาศาสตร์ทำการทดลองเพื่อวิเคราะห์ทางยีนส์ ก็ได้ออกมายืนยันว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกหมูเป็นโรคท้องร่วงติดต่อและตายในช่วงสองปีที่ผ่านมานี้ คือ SADS หรือ อาการท้องเสียอย่างรุนแรงในหมู
“เมื่อเรานำเชื้อโรคลึกลับมาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ก็ยืนยันได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสตัวใหม่จากตระกูลเดียวกัน ทั้งไวรัสพีอีดี และซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome ชื่อย่อ SARS) และค้างคาวมักเป็นคลังเก็บจุลินทรีย์ก่อโรคจำนวนมาก ดังนั้น เราจึงเริ่มแกะรอยไวรัสจากการสุ่มตัวอย่างค้างคาว” นาย สือ เจิงลี่ ผู้เชี่ยวชาญด้านไวรัส แห่งสถาบันไวรัสวิทยา ณ เมืองอู่ฮั่น สังกัดวิทยาศาสตร์บัณฑิตยสถานแห่งจีน (Chinese Academy of Sciences)
สือบอกว่า นักวิจัยได้เก็บตัวอย่างจากค้างคาว 591 ตัว ส่วนใหญ่จากค้างคาวมงกุฎ ระหว่างปี 2013 และ 2016 โดย 10 เปอร์เซ็นต์ของการทดลอง ได้ผลบวก
การวิจัยนี้ ซึ่งเป็นโครงการร่วมมือระหว่างกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ จีน สิงคโปร์ และสหรัฐอเมริกา และผลการค้นพบ ได้ถูกนำออกเผยแพร่ในนิตยสาร Nature เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
“การศึกษาได้มุ่งไปที่ความสำคัญของการระบุความหลากหลายทางชีวภาพของโคโรนาไวรัส และการกระจายตัวในค้างคาว เพื่อสกัดการระบาดใหญ่ในอนาคต ที่จะเป็นภัยคุกคามต่อปศุสัตว์ สุขภาพสาธารณชน และการเติบโตเศรษฐกิจ” รายงานการค้นพบ ระบุ
นอกจากนี้กลุ่มนักวิจัยยังโล่งใจที่ได้พบว่า ไวรัสนี้ไม่ติดต่อสู่มนุษย์หลังจากที่ได้ตรวจร่างกายกลุ่มคนงานที่ใกล้ชิดกับกลุ่มหมูติดเชื้อในฟาร์มที่กว่างตง
“เชื้อโรคที่ติดต่อในคนหลายๆตัว เช่น ซาร์ส มีแหล่งแพร่เชื้อดั้งเดิมมาจากสัตว์ เป็นไปได้ว่า SADS อาจแพร่ระบาดจากค้างคาวไปยังสัตว์เลี้ยง และอาจไปถึงมนุษย์ในอนาคต” หม่า จิ้งอวิ๋น นักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเกษตรกรรมแห่งจีนใต้ กล่าว และเป็นผู้เขียนร่วมในงานวิจัยนี้ด้วย

Manager online 10.04.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร