Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ปส.ชี้สายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสีไม่ได้ประสิทธิภาพดีกว่าสายล่อฟ้าปกติ แนะลด เลิก ใช้  

          ปส.แนะผู้ประกอบการ ลด เลิก ใช้สายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสี พร้อมส่งเสริมให้ความรู้การจัดการกากกัมมันตรังสีหลังเลิกใช้งาน แก่ผู้ครอบครอง และลดการใช้สายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ สำหรับหน่วยงานที่มีการขออนุญาตผลิตมีไว้ในครอบครองทั่วประเทศ
นางสุชิน อุดมสมพร ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับมอบหมายจาก ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นประธานเปิดอบรมหลักสูตร “การพิจารณาความสมเหตุสมผล (Justification) สำหรับสายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ” ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 เม.ย.61 โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมเป็นผู้ประกอบการทั่วประเทศ จำนวน 140 คน
นางสุชิน กล่าวว่า ปัจจุบันมีหลายหน่วยงานใช้สายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ ซึ่งหน่วยงานเหล่านี้จะต้องได้รับการอนุญาตครอบครอง หรือใช้วัสดุกัมมันตรังสีจากสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) ซึ่งการนำวัสดุกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์นั้น ขั้นตอนแรกที่ ปส. จะต้องพิจารณา คือ ความสมเหตุสมผลตามหลักการ justification หรือ การได้รับประโยชน์จากการใช้วัสดุกัมมันตรังสีจะต้องมากกว่าอันตราย ที่ได้รับจากรังสี ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการสำคัญของการป้องกันอันตรายจากรังสี เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจว่า ควรอนุญาตให้มีการ ผลิต นำเข้า ส่งออก ใช้วัสดุกัมมันตรังสีหรือไม่ เพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าประชาชน และสิ่งแวดล้อมได้รับความปลอดภัยจากการใช้จากวัสดุกัมมันตรังสีนั้น
"ปส. ในฐานะหน่วยงานกำกับดูแล จึงต้องส่งเสริมและให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ เพื่อให้ประชาชนผู้ใช้หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ เพราะอาจทำให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อชีวิตและทรัพย์สิน เนื่องจากสายล่อฟ้าประเภทนี้ ไม่ได้มีประสิทธิภาพมากกว่าสายล่อฟ้าชนิดที่ไม่มีวัสดุกัมมันตรังสีเป็นส่วนประกอบ ซึ่งอาจไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใดๆ และอาจนำไปสู่การได้รับรังสีโดยไม่จำเป็น อีกทั้งยังเป็นการลดกากกัมมันตรังสีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย"
สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ กองอนุญาตทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ โทรศัพท์ 0 2596 7600 ต่อ 1523

Manager online 26.04.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร