Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สนามบินญี่ปุ่นจะใช้เทคโนโลยี “สแกนใบหน้า” ในระบบตรวจคนเข้าเมือง  

          กระทรวงยุติธรรมของญี่ปุ่นจะติดตั้งเทคโนโลยี “จดจำใบหน้า” ตามสนามบินต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการตรวจคนเข้าเมืองสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2019
          นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าออกประเทศญี่ปุ่นจะผ่านขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมืองโดยการสแกนใบหน้า ซึ่งเมื่อคอมพิวเตอร์เทียบข้อมูลกับภาพถ่ายที่เข้ารหัสไว้ในไมโครชิปที่ฝังไว้ในหนังสือเดินทางแล้ว ประตูอัตโนมัติก็จะเปิดออก ขั้นตอนทั้งหมดใช้เวลาเพียง 15 วินาทีเท่านั้น และภาพถ่ายใบหน้าที่สแกนไว้จะถูกลบทันทีเมื่อการตรวจสอบเสร็จสิ้นเพื่อปกป้องข้อมูลส่วนบุคคล
เทคโนโลยี “จดจำใบหน้า” จะถูกนำมาใช้ตามสนามบินหลักทั่วประเทศญี่ปุ่นในปี 2019 เพื่อลดเวลาต่อแถวในการตรวจคนเข้าเมือง และจะได้นำกำลังเจ้าหน้าที่ไปปฏิบัติภารกิจอื่น เช่น การป้องกันการก่อการร้าย ในช่วงก่อนที่กรุงโตเกียวจะเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกในปี 2020
ปัจจุบันมีเครื่องสแกนใบหน้าติดตั้งอยู่ที่สนามบินฮาเนดะจำนวน 3 เครื่อง แต่จะเพิ่มเป็น 137 เครื่องในปีหน้า และยังจะติดตั้งในสนามบินนาริตะ, สนามบินชูบุ, สนามบินคันไซ และสนามบินฟุกุโอกะ
เมื่อปี 2007 ญี่ปุ่นได้ใช้ระบบสแกนลายนิ้วมือในการตรวจคนเข้าเมือง แต่กลับมีชาวญี่ปุ่นและนักท่องเที่ยวใช้เพียงแค่ร้อยละ 7.9 เท่านั้น เนื่องจากต้องลงทะเบียนลายนิ้วมือก่อน แต่ระบบสแกนใบหน้านี้เป็นการเปรียบเทียบกับภาพในหนังสือเดินทาง ไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนใดๆ
รัฐบาลญี่ปุ่นตั้งเป้าจะให้มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเยือนญี่ปุ่น 40 ล้านคนในปี 2020 จึงจำเป็นใช้เทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกในการตรวจคนเข้าเมือง
เทคโนโลยี “จดจำใบหน้า” ยังกำลังถูกทดลองใช้โดยธนาคารต่างๆ ในญี่ปุ่นเพื่อยืนยันตัวตน โดยให้เจ้าของบัญชีใช้กล้องบนสมาร์ทโฟนถ่ายภาพตัวเอง เพื่อทำธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านแอพลิเคชั่น
การสแกนใบหน้าทำให้ไม่ต้องจดจำรหัสลับ โดยเพื่อเพิ่มความปลอดภัย การโอนเงินหรือทำธุรกรรมสำคัญจะใช้ยืนยันตัวตน2 ชั้น คือ ใช้การสแกนใบหน้าร่วมกับตรวจสอบเสียงหรือลายนิ้วมือ
นอกจากนี้ ผู้พัฒนาเทคโนโลยียังระบุว่าสามารถแยกการใช้ภาพถ่ายมาสวมรอยแทนใบหน้าจริงๆ ได้ด้วย
กลุ่มการเงินสุมิโตโม มิตซุย, บริษัทประกันชีวิตนิปปอน ไลฟ, ธนาคารคางะวะในเกาะชิโกกุ, ธนาคารนิชิ นิปปอนในฟุกุโอกะ รวมทั้งกลุ่มการเงิน มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ กำลังทดลองใช้เทคโนโลยี “สแกนใบหน้า” เพื่อทดแทนการใช้รหัสผ่านในการทำธุรกรรมของสถาบันการเงิน.

 

Manager online 04.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร