Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'ไวรัสอีโบล่า' ระบาดรอบใหม่ คร่าชีวิตชาวคองโก 17 ราย  

รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ประกาศยืนยันการระบาดครั้งใหม่ของเชื้อไวรัสอีโบล่า ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 17 ราย การระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าในประเทศแถบแอฟริกาครั้งนี้ นับว่าเป็นครั้งที่ 9 แล้ว ชื่อของเชื้อไวรัสอีโบล่าตั้งขึ้นตามชื่อแม่น้ำ Ebola เมื่อครั้งที่ค้นพบเชื้อไวรัสอีโบล่าเป็นครั้งแรกในช่วงปี ค.ศ. 1970 รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขคองโกกล่าวอีกว่า ขณะนี้คองโกกำลังเผชิญหน้ากับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าอีกครั้ง ซึ่งถือเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เชื่อกันว่าเชื้อไวรัสอีโบล่าแพร่ระบาดไปยังถิ่นอื่นโดยมีค้างคาวเป็นพาหะ และแพร่เชื้อไปยังสัตว์ชนิดอื่นๆ ที่อยู่บนต้นไม้ อย่างเช่นลิง และบ่อยครั้งที่มนุษย์ได้รับเชื้อไวรัสนี้โดยการรับประทานเนื้อสัตว์ป่าที่ติดเชื้อ ก่อนที่จะมีการยืนยันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขท้องถิ่นรายงานว่า มีผู้ป่วย 21 รายที่แสดงอาการของไข้เลือดออกที่หมู่บ้าน Ikoko Impenge ที่อยู่ใกล้ๆ กับเมือง Bikoro หลังจากนั้นผู้ป่วยเหล่านี้เสียชีวิตลง 17 ราย การแพร่ระบาดครั้งร้ายแรงที่สุดของเชื้อไวรัสอีโบล่า เกิดขึ้นในประเทศแถบแอฟริกาตะวันตกเมื่อสองปีที่แล้ว ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 11,000 ราย และมีผู้ติดเชื้ออีก 28,600 ราย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าทุกๆ 2-3 ปี แต่อัตราการเสียชีวิตในประเทศคองโก ลดลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเชื่อว่า เป็นเพราะความรู้ความเข้าใจของประชากรเกี่ยวกับเชื้อไวรัสอีโบล่า และประสบการณ์ในการรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ในท้องถิ่น Voice of America 11.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร