Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ก้าวไปอีกขั้น! นักวิทย์จีนคิดค้นเครื่องเพาะเลี้ยง – คัดแยกสเต็มเซลล์อัตโนมัติ  

          ซินหวา สื่อทางการจีนรายงาน (15 พ.ค.) จีนวิจัยสร้างอุปกรณ์เร่งการเพาะเลี้ยงและคัดเลือกสเต็มเซลล์โดยอัตโนมัติได้สำเร็จ
อุปกรณ์ดังกล่าวพัฒนาโดยสถาบันการแพทย์ชีวภาพและสุขภาพก่วงโจว ภายใต้วิทยาศาสตร์บัณฑิตยสถานแห่งจีน (Chinese Academy of Sciences) เพื่อยกระดับความสามารถในการเพาะเลี้ยงสเต็มเซลล์ไปสู่ระดับขนาดใหญ่
ที่ผ่านมา การเพาะเลี้ยงและคัดเลือกสเต็มเซลล์สามารถทำได้ด้วยกรรมวิธีที่จำเป็นต้องทำโดยมนุษย์เท่านั้น ทำให้มีมาตรฐานในแต่ละแห่งมีความแตกต่างกัน ประสิทธิภาพต่ำ ต้นทุนสูงและความปลอดภัยต่ำ ทำให้การเพาะเลี้ยงสเต็มเซลล์ขยายตัวได้อย่างช้า ๆ
นายผัน ก่วงจิ้น รองประธานสถาบันฯ กล่าวว่า การคัดเลือกสเต็มเซลล์ที่ใช้งานได้ออกจากสเต็มเซลล์อื่น ๆ เป็นงานหนักที่ต้องใช้ดำเนินการโดยมนุษย์ ไม่ต่างอะไรจากการพยายามแยกเข็มออกจากกองฟาง
ทั้งนี้ สเต็มเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนของมนุษย์จะเป็นเซลล์ตัวอ่อนที่สามารถเติบโตขึ้นไปเป็นเนื้อเยื่อได้หลายชนิด ซึ่งการเติบโตของเนื้อเยื่อที่ได้จากสเต็มเซลล์นับเป็นเส้นชัยสำคัญของบรรดานักวิทยาศาสตร์ เพราะสามารถนำไปใช้ปลูกเป็นอวัยวะมนุษย์ที่ขาดหายไปได้
ปัจจุบันจีนกำลังพยายามรุกศึกษาเรื่องสเต็มเซลล์และขยายสัดส่วนในวิทยาการที่เริ่มมีการแข่งขันสูงขึ้นนี้ โดยจีนนับว่าได้เปรียบกว่าหลายประเทศ ที่มีกฎระเบียบควบคุมเรื่องสเต็มเซลล์เข้มงวดและยังมีความคิดเห็นขัดแย้ง อันเป็นอุปสรรคต่อการวิจัย ดังเช่นกลุ่มอนุรักษ์นิยมส่วนหนึ่งที่ต่อต้านการใช้สเต็มเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนของมนุษย์
แต่ปัจจุบันยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในเชิงศีลธรรมว่า สเต็มเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนของทารกนั้น ถือเป็นการฆ่ามนุษย์หรือไม่ เนื่องจากเป็นการดึงตัวอ่อนมนุษย์ที่เกิดจากการปฏิสนธิของไข่กับอสุจิที่มีอายุ 5-7 วันออกมาไว้ในจานแก้วเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จากนั้นจึงดูดเซลล์จากตัวอ่อนออกมาเพาะเลี้ยงเป็น สเต็มเซลล์ต่อไป โดยวิธีการนี้จะทำให้ตัวอ่อนมนุษย์ต้องตายไป

 

Manager online 16.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร