Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ศธ.เชื่อตั้ง ก.อุดมศึกษา ไม่ควบรวม ก.วิทย์ หวั่นเกิดกระแสต้าน พันธกิจไม่เกี่ยวมหา'ลัย  

         “หมออุดม” เชื่อตั้ง ก.อุดมศึกษา ไม่ควบรวมกับ ก.วิทย์ เผยจากการหารือแค่นำ 1 ว.+5 ส.ด้านวิจัยมารวม สกอ. แล้วตั้งกระทรวงใหม่ หวั่นรวม ก.วิทย์ จริงเกิดกระแสต่อต้าน พันธกิจไม่เกี่ยวข้องมหา'ลัย
         จากกรณีการเตรียมแยกสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็นกระทรวงการอุดมศึกษา โดยรัฐบาลมีแนวคิดให้นำหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทั้งหมดมารวมด้วยเป็นกระทรวงการอุดมศึกษาและวิจัย แต่มีกระแสกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) จะปรับโครงสร้างกระทรวงใหม่ โดยจะควบรวม สกอ. และหน่วยงานวิจัยเข้ามาอยู่กับ วท.แล้วตั้งเป็นกระทรวงใหม่ ทำให้เกิดความสับสน
วันนี้ (21 พ.ค.) นพ.อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ให้สัมภาษณ์ถึงเรื่องนี้ ว่า การแยก สกอ.ออกมาเป็นกระทรวงการอุดมศึกษา ก็เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ขณะที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ให้นโยบายว่าเรื่องวิจัยเป็นเรื่องสำคัญอยากให้นำมารวมด้วย อีกทั้งงานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศกว่า 70 - 80% มาจากภาคมหาวิทยาลัย ดังนั้น หากนำหน่วยงานวิจัยทั้งหมด คือ 1ว+5ส. ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)  มารวมกับอุดมศึกษาก็จะเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น
"“ที่ผ่านมา ศธ. ทำแค่การแยก สกอ. ไปเป็นกระทรวงการอุดมศึกษาก่อน โดยมีพันธกิจใหม่ และกระบวนการทำงานแบบใหม่ไม่ได้เอา 1ว+5ส. มารวม เนื่องจากติดข้อจำกัดเงื่อนไขเวลาที่ต้องทำให้เสร็จก่อนการเลือกตั้ง ซึ่งขณะนี้จวนเจียนมาก ถ้าสามารถใส่ 1ว+5ส.ไปได้เลยและออกมาทันก่อนเลือกตั้งก็เป็นเรื่องที่ดี” รมช.ศธ. กล่าว
นพ.อุดม กล่าวว่า ถ้าเป็นกระทรวงการอุดมศึกษาและการวิจัยอาจจะใช้เวลาไม่มาก  แต่การนำเอา วท.ทั้งหมดมารวมจะแตกต่างชัดเจน เนื่องจาก วท. มีพันธกิจอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับอุดมศึกษา พอมีการพูดว่ายุบ วท. ก็ฮือฮามาก ทำไมต้องยุบ วท. และเดิม นายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ พูดถึงแค่เรื่องอุดมศึกษากับงานวิจัย  ไม่มีการยุบ วท. เพียงแต่ตัดเฉพาะส่วน 5 ส. และ 1 ว. มารวมในกระทรวงการอุดมศึกษา ซึ่งตรงนี้ทำได้ง่ายสุดและเป็นประโยชน์ของประเทศ เพราะเพิ่มไม่มาก
“ผมคิดว่าเอาวิทยาศาสตร์ทั้งหมดมารวมไม่ใช่พันธกิจของกระทรวงการอุดมฯ และคิดว่าพันธกิจของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นพันธกิจที่ใหญ่สำหรับประเทศ วท. ควรยังอยู่ แต่แยกส่วนที่เป็นวิจัยออกมา ต้องไปเคลียร์และปรับเรื่องพันธกิจของวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีให้ดีว่าจะทำอย่างไร เพราะถ้าเอา วท. มารวมกับกระทรวงการอุดมฯทั้งหมด จะมีแรงต่อต้านจากหลายส่วน รวมถึงจากภาคมหาวิทยาลัย ว่า ทำไมต้องเน้นแต่วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ ไม่มีความสำคัญหรือ อย่างไรก็ตาม ต้องรอ นายกอบศักดิ์ พิจารณา เพราะขณะนี้เลยขั้นตอนของ ศธ. ไปแล้ว มีการเสนอร่าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษาฯไปที่คณะรัฐมนตรี (ครม.)แล้ว” รมช.ศธ. กล่าว

 

Manager online 21.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร