Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

หมอเตือนกินเห็ดป่าฤดูฝนนี้ เสี่ยงอันตรายเจอเห็ดพิษ  

          นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กล่าวว่า เห็ดเป็นสมุนไพรฤทธิ์เย็นมีสรรพคุณ แก้ไข้ แก้ช้ำใน บำรุงร่างกาย และช่วยให้เจริญอาหาร งานวิจัยในปัจจุบันยืนยันว่าเห็ดบางชนิด เช่น เห็ดหอม และ เห็ดหลินจือ มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย และช่วยลดระดับไขมันในเลือดได้ คุณสมบัติเด่นของเห็ด คือ มีไฟเบอร์สูงและแคลอรี่ต่ำ มีปริมาณโปรตีนสูงถึง 5-34 % มีไขมันต่ำเพียง 1-8 % ของน้ำหนักแห้ง 100 กรัม มีแร่ธาตุ และวิตามินสูง เห็ดจึงเป็นอาหารสุขภาพที่ส่งเสริมให้มีสุขภาพดี ตัวอย่างเห็ดป่าที่กินได้และรู้จักกันดีในประเทศไทย เช่น เห็ดระโงกขาว เห็ดโคน เห็ดขอน และเห็ดเผาะ เป็นต้น
แม้เห็ดส่วนใหญ่จะรับประทานได้และมีประโยชน์แต่เห็ดบางชนิดก็มีพิษร้ายแรง สามารถทําลายเซลล์ของตับ ไต ระบบทางเดินอาหาร ระบบเลือด ระบบหายใจ ระบบสมอง และทำให้เกิดอันตรายถึงแก่ความตายได้ อาการที่แสดงหลังจากได้รับสารพิษคือ คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว ท้องร่วง ความรุนแรงขึ้นกับเพศ อายุ และปริมาณในการรับประทาน ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีการสืบทอดความรู้ในการสังเกตเห็ดพิษดังนี้ หากเห็ดชนิดนั้นขึ้นอยู่ใกล้มูลสัตว์ มีสีน้ำตาลหรือสีสันฉูดฉาด หมวกเห็ดมีปุ่มปม มีวงแหวนใต้หมวก หรือเมื่อดอกแก่ มีกลิ่นเอียนหรือกลิ่นค่อนข้างแรง ก็ให้พึงระวังว่าจะเป็นเห็ดพิษ สารพิษในเห็ดโดยส่วนใหญ่จะสลายตัวด้วยความร้อน    
ดังนั้นจึง ควรปรุงให้สุก ไม่ควรกินเห็ดดิบโดยเด็ดขาด ทั้งนี้ เมื่อได้รับสารพิษจากเห็ด การปฐมพยาบาลเบื้องต้น นอกจากล้วงคอเพื่ออาเจียนแล้ว การดื่มน้ำคั้นจากใบรางจืดก็สามารถล้างพิษเห็ดได้ เบื้องต้นและรีบไปพบแพทย์ในทันที ข้อห้ามที่สำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ ไม่ดื่มแอลกอฮอล์หลังจากบริโภคเห็ดป่าโดยเด็ดขาด เพราะมีผลต่อระบบประสาท อาจทำให้พิษกระจายรวดเร็วขึ้น ถึงขั้น หมดสติและเสียชีวิตได้
ในช่วงฤดูฝนที่มีเห็ดป่าขายในท้องตลาดอย่างแพร่หลาย แนะนำให้ประชาชนบริโภคเฉพาะเห็ดที่ตนเองรู้จักและเคยรับประทานเท่านั้นหากไม่มั่นใจว่าเห็ดที่พบเห็นสามารถกินได้ หรือไม่มีใครเคยนำมากิน หรือมีรายงานประวัติความเป็นพิษของเห็ดดังกล่าว ก็ไม่ควรรับประทาน และให้ตรวจสอบแหล่งที่มาของเห็ดให้แน่ชัด

 

Bangkokbiznews 23.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร