Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

5 เหตุผลของโลก ชวนทุกคน “ลด-เลิกใช้หลอดพลาสติก”  

         หลอดพลาสติกก่อปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมของโลก เมื่อทิ้งกลายเป็นขยะพลาสติกที่ไหลลงทะเล ด้วยที่ไปทำร้ายชีวิตสัตว์ทะเลหลายชนิด ทำให้ระบบนิเวศของทะเลตกอยู่ในสถานการณ์วิกฤติ

          หากคุณเป็นอีกคนหนึ่งที่ยังใช้หลอดพลาสติก อาจจะไม่ทันนึกว่า เราใช้ประโยชน์ไม่ถึง 20 นาที แต่หลอดต้องใช้เวลา 200 ปีถึงจะย่อยสลาย

ถ้าคุณยังเป็นอีกคนที่ติดการใช้หลอดพลาสติก?
1. ทราบไหมว่า ในแต่ละปีมีพลาสติกปีละไม่ต่ำกว่า 8 ล้านตัน ไหลลงสู่ท้องทะเล
2. แล้วคุณทราบไหม แต่ละปีมีสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลปีละไม่ต่ำกว่า 1 แสนตัว และนกอีกปีละไม่ต่ำกว่า 1 ล้านตัวที่ตายเพราะกินพลาสติกเข้าไป
3. เฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศเดียว ประชากรบริโภคหลอดพลาสติกเป็นจำนวนถึง 500 ล้านหลอดต่อวัน
4.อายุหลอดพลาสติกต้องใช้เวลาถึง 200 ปี กว่าจะย่อยสลาย แต่คุณกลับใช้ประโยชน์จากหลอดหนึ่งหลอดไม่ถึง 20 นาที
5. ทุกวันนี้เรามีทางเลือกอื่นๆ ทดแทนการใช้หลอดพลาสติก ไม่ว่าจะเป็นหลอดกระดาษ หลอดจากไม้ไผ่ หลอดแก้ว
ไม่ว่าจะด้วยความเคยชิน หรือเพราะใส่ใจสุขภาพมากมาย ขณะเดียวกันก็อยากมีส่วนช่วยกู้วิกฤติโลกให้ปลอดภัย
ลดและเลิกใช้ เริ่มจากตัวเราปฏิเสธการใช้ที่ไม่จำเป็น
เครื่องดื่มที่เราสั่งมักถูกเสิร์ฟมาพร้อมหลอดพลาสติก และหลายครั้งที่เราไม่จำเป็นต้องใช้หลอด สิ่งที่ง่ายที่สุดคือ “ถ้าไม่จำเป็นต้องใช้หลอด ก็ไม่ต้องใช้” การลดการใช้ (reduce) เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะหลีกเลี่ยงการสร้างขยะจากหลอดที่ใช้แล้วทิ้ง เราทุกคนเริ่มได้ด้วยการปฏิเสธการขอรับหลอดจากร้านอาหาร ร้านกาแฟ

ใช้ “หลอดที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้” แทนหลอดพลาสติกประเภทใช้แล้วทิ้ง
ปัจจุบันมีทางเลือกมากมาย เช่น
หลอดแก้ว ทำมาจากแก้วแข็งที่เรียกว่าโบโรซิลิเคต มีความคงทนและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
หลอดไม้ไผ่ ไม้ไผ่เป็นพืชที่โตเร็ว สามารถปลูกทดแทนได้ง่าย และเป็นวัสดุที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติ ล้างและตากให้แห้งหลังการใช้งาน หากดูแลรักษาดีๆ สามารถใช้งานได้หลายปี

หลอดโลหะ ที่พบเห็นได้บ่อยทำจากสแตนเลสคุณภาพดี มีความแข็งแรงและทนทานมาก
หลอดกระดาษ หลอดชนิดนี้ใช้ได้ครั้งเดียวจึงไม่ดีเท่าหลอดประเภทที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างไรก็ดี แม้ยังสร้างขยะอยู่แต่สร้างผลกระทบน้อยกว่าหลอดพลาสติกแน่นอน

หลอดจากก้านไรน์ เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจ หากอยากลิ้มลองรสชาติของช่วงร้อยกว่าปีก่อน “Straw Straw” เป็นทางเลือกใหม่ที่อยู่ระหว่างการพัฒนา หลอดทำมาจากต้นไรน์ที่ปลูกแบบอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี หลอดชนิดนี้ย่อยสลายได้ 100%

หลอดเส้นพาสต้า ลองมองหาเส้นพาสต้าทีมีรู เช่น bucatini หรือ perciatelli นำมาทำเป็นหลอด หลอดชนิดนี้ไม่สร้างขยะ เพราะสามารถนำไปประกอบอาหารต่อได้

การเดินทางของหลอดสอนให้เรารู้ว่า นวัตกรรมในยุคหนึ่งอาจกลายเป็น “ขยะ” ในยุคต่อมาก็ได้ จากสิ่งที่เคยสร้างความสะดวกสบายกลายเป็นสิ่งเตือนใจให้มนุษย์รับรู้ถึง “ความไม่จำเป็น”ต่างๆ ในชีวิต และหลอดก็กำลังเดินทางกลับไปสู่ กระดาษ ก้านไรย์ และโลหะ ดังที่เคยเป็นในอดีต

Manager online 26.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร