Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เร่งเขียนแบบ “ธนาคารชีวภาพ-แล็บชีวนิรภัย” ความปลอดภัยสูงสุด ศึกษาเชื้อโรค พัฒนาวัคซีน-ยา  

        กรมวิทย์คาด 1 - 2 เดือน เขียนแบบอาคารศูนย์ชีววัสดุ - แล็บชีวนิรภัยระดับ 4 แล้วเสร็จ เริ่มก่อสร้างได้ทันที เล็งใช้พื้นที่ด้านหลังกรมฯ ก่อสร้างเป็นอาคารชั้นเดียว คาดใช้งบประมาณ 100 ล้านบาท หวังเป็นธนาคารชีวภาพ ศึกษาพันธุกรรมเชื้อก่อโรค พัฒนาเป็นวัคซีน - ยาในอนาคต
          นพ.สุขุม กาญจนพิมาย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวถึงความคืบหน้าการสร้างห้องปฏิบัติการชีวนิรภัยระดับ 4 (BSL4) ซึ่งมีความปลอดภัยระดับสูงสุด ว่า ขณะนี้อาคารดังกล่าวอยู่ระหว่างการเขียนแบบ ซึ่งภายใน 1 - 2 เดือนคงแล้วเสร็จ ก็จะสามารถเริ่มก่อสร้างได้ทันที คาดว่า ไม่เกิน 6 เดือนจะแล้วเสร็จ โดยจะก่อสร้างบริเวณด้านหลังกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ บริเวณที่เป็นโรงรถ โดยอาคารดังกล่าวจะเป็นอาคารชั้นเดียว แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของศูนย์ชีววัสดุ (Bioresource Center) ในการเก็บพวกเชื้อโรคต่างๆ และส่วนของห้องปฏิบัติการ (แล็บ) ในการศึกษาวิจัย ซึ่งในเรื่องของความปลอดภัยทั้งหมดจะเป็นระดับ 4 คือ ความปลอดภัยสูงสุด ถือเป็นแห่งแรกในประเทศไทยและอาเซียน
นพ.สุขุม กล่าวว่า สำหรับงบประมาณในการก่อสร้าง คาดว่า อยู่ที่ประมาณ 100 ล้านบาท แต่หากมีการขยายขนาดในอนาคตอาจจะใช้งบประมาณอยู่ที่ 400 - 500 ล้านบาท โดยงบประมาณในการก่อสร้างจะใช้เงินบำรุงของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และอาจจะเสนอของบประมาณสนับสนุนในการก่อสร้างจากทางกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ด้วย ที่ทำงานเกี่ยวข้องกัน คือการดำเนินการธนาคารชีวภาพ (BioBank) สำหรับการก่อสร้างศูนย์ชีววัสดุและแล็บระดับ 4 เป็นการร้องขอจากทางกรมควบคุมโรคและสถาบันวัคซีนแห่งชาติ โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จะเป็นผู้สร้าง ส่วนการใช้ประโยชน์จะเป็นของ 2 หน่วยงานดังกล่าว
“สาเหตุที่ต้องมีการสร้างอาคารดังกล่าว ก็เพื่อประโยชน์อนาคต เพราะสามารถนำเชื้อก่อโรคต่างๆ ที่เก็บไว้มาศึกษาพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ นำมาเป็นธนาคารเชื่อมโยงกับต่างประเทศ โดยอาจมีความร่วมมือกับนานาชาติ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือยุโรป ในการทำข้อมูลพันธุกรรมเชื้อโรคเกิดเป็นวัคซีนหรือยาต่างๆ ได้ ซึ่งที่ต้องทำเพราะเราไม่ทราบว่าเชื้อโรคภาคพื้นอาเซียนจะเหมือนทางยุโรป สหรัฐอเมริกา หรือแอฟริกา หรือไม่ จึงต้องเก็บรวบรวมรักษาเพื่อพัฒนาต่อไป” นพ.สุขุม กล่าว

 

Manager online 29.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร