Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สุดยอด! นักวิจัยอังกฤษใช้เครื่องพิมพ์ชีวภาพ 3 มิติ พิมพ์ "กระจกตา" สำเร็จครั้งแรกของโลก  

          MGR Online - นักวิจัย ม.นิวคาสเซิล ประสบความสำเร็จในการคิดค้นหมึกชีวภาพ ที่สามารถใช้พิมพ์ "กระจกตาเทียม" ของมนุษย์ได้สำเร็จ เผยเจลพิเศษจะช่วยให้สเต็มเซลล์มีชีวิตอยู่ได้นาน ทั้งยังคงรูปและอ่อนนุ่มพอ ชี้เป็นเทคโนโลยีที่จะช่วยผู้ป่วยได้นับสิบล้านคน
          วานนี้ (30 พ.ค.) เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล ในอังกฤษเผยแพร่ว่านักวิจัยของมหาวิทยาลัยประสบความสำเร็จในการทดสอบพิมพ์ "กระจกตา" ด้วยเครื่องพิมพ์ชีวภาพ 3 มิติ (3D bio-printer) โดย ศ.เช คอนนอน ศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อ กับทีมงานของเขา สามารถผสมผสานสเต็มเซลล์ (เซลล์ต้นกำเนิด) ที่แข็งแรงของกระจกตามนุษย์ เข้ากับคอลลาเจน และอัลจิเนต (น้ำตาลชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ) เพื่อทำเป็น หมึกชีวภาพ (bio-ink) เพื่อใส่เข้าไปในเครื่องพิมพ์สามมิติ ให้พิมพ์กระจกตาเทียมสำหรับมนุษย์ได้ภายในเวลาไม่ถึง 10 นาที
ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ป่วยมากกว่า 10 ล้านคนต้องการเปลี่ยนกระจกตา จากสาเหตุต่าง ๆ เช่น โรคริดสีดวงตา กระจกตาบวม กระจกตาเสื่อม กระจกตาขุ่น ฯลฯ ทว่า กระจกตาที่ได้จากการบริจาคนั้นมีจำนวนไม่เพียงพอ ส่วนกระจกตาเทียมก็ยังใช้กันน้อยและให้ผลในระยะยาวไม่ดีเท่าที่ควร นวัตกรรมใหม่ชิ้นนี้จึงน่าจะสามารถแก้ไขปัญหานี้ให้กับมนุษย์เราได้อย่างมีประสิทธิภาพ
"เจลของเรามีเอกลักษณ์ เพราะผสมผสานอัลจีเนตเข้ากับคอลลาเจน เพื่อช่วยให้สเต็มเซลล์ยังคงมีชีวิตอยู่ ขณะเดียวกันก็ถือเป็นวัสดุที่ช่วยยึดให้ทรงของกระจกตายังคงรูป และอ่อนนุ่มพอที่จะถูกบีบออกจากหัวฉีดของเครื่องพิมพ์สามมิติ" ศ.คอนนอนอธิบาย และว่าจากการทดสอบกระจกตาที่พิมพ์ออกมา ไฮโดรเจลสามารถรักษาเซลล์ให้ยังคงมีชีวิตอยู่ได้นานหลายสัปดาห์ในอุณหภูมิห้องปกติ
สำหรับงานวิจัยเพื่อพิสูจน์หลักฐานของแนวคิดดังกล่าว ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Experimental Eye Research เรียบร้อยแล้ว โดยผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นว่าความสำเร็จนี้จะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนกระจกตาที่ได้รับบริจาคไม่เพียงพอได้อย่างดี
ทั้งนี้ ก่อนจะสั่งพิมพ์กระจกตาให้กับผู้ป่วย นักวิจัยจะต้องทำการกวาดภาพ (สแกน) ตาของผู้ป่วยเพื่อทราบถึงขนาดมิติและความเชื่อมโยงของลูกตากับอวัยะส่วนอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม กว่าที่เทคโนโลยีการพิพม์กระจกตาด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติจะสามารถนำมาใช้อย่างแพร่หลาย และเพียงพอกับผู้ป่วยทั้งหมด คงยังต้องใช้เวลาอีกหลายปี และยังต้องผ่านขั้นตอนอีกหลายขั้น

 

Manager online 31.05.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร