Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ตั้งโจทย์ให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ต่อยอดสู่อุตสาหกรรมเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล  

สกว.-สกอ.เปิดเวทีปฐมนิเทศอาจารย์และนักวิจัยรุ่น ย้ำมหาวิทยาลัยและบุคลากรวิจัยต้องปรับตัวตามภาพอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและตลาดแรงงาน ยุทธศาสตร์ชาติและนโยบาย 4.0 มุ่งสู่การแก้ปัญหาและวิกฤติของประเทศบนฐานความรู้โดยเฉพาะการต่อยอดในอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อให้หลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ศ.นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นประธานการประชุม “การปฐมนิเทศผู้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำวานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่และทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ ประจำปี 2561” เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2561 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่พาร์ค กรุงเทพฯ เพื่อชี้แจงนโยบายของ สกว. และทิศทางของอุดมศึกษาไทยในอนาคต รวมถึงการให้ทุนรูปแบบใหม่ของฝ่ายวิชาการ สกว. และการบริหารจัดการทุนวิจัย ตลอดจนชี้แจงระเบียบการเงินและบัญชีและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาแก่ผู้รับทุนจำนวน 307 คน ผู้อำนวยการ สกว. ระบุว่ายุทธศาสตร์ใหม่ของ สกว. ที่สำคัญประการหนึ่งคือ ต้องการสร้างขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตอย่างยั่งยืน ภายใต้กรอบการวิจัยเชิงบูรณาการและประเด็นวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ เราจึงต้องการนักวิจัยสาขามนุษยศาสตร์และส้งคมศาสตร์มากขึ้นเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาตามโจทย์ความต้องการของประเทศ โดยเฉพาะประเด็นจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งนี้ขอให้นักวิจัยมุ่งทำงานวิจัยที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ในโอกาสนี้ นายพันธุ์เพิ่มศักดิ์ อารุณี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กล่าวระหว่างการบรรยายเรื่อง “สกอ.กับนโยบายการให้ทุนอาจารย์รุ่นใหม่” ว่าโจทย์สำคัญของการทำวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นฐานในปัจจุบัน คือ การต่อยอดสู่อุตสาหกรรมเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งตามนโยบายของรัฐบาล ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออุดมศึกษาไทย ได้แก่ ภาพอนาคต เช่น การเปลี่ยนแปลงประชากรสู่สังคมสูงวัย เยาวชน นักศึกษา และบัณฑิตในอนาคต การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน การปรับตัวเข้ากับยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ เป็นต้น ซึ่งในอีก 4-5 ปีข้างหน้า จะส่งผลต่อการปรับตัวของมหาวิทยาลัยไทยที่จะต้องถูกบีบให้ทำวิจัยและทำงานบริการวิชาการ ลงภาคสนามมากขึ้น เพื่อต่อยอดสู่การพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมและสังคม นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และนโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งทั้งหมดนี้จะเป็นกลไกสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาและวิกฤติของประเทศ โดยการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ไปช่วยชี้แนะแนวทางเพื่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาประเทศ สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกล่าสุดปรากฏว่าอันดับ 1 คือ ฮ่องกง ส่วนไทยนั้นอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน ตามหลังประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย ซึ่งรัฐบาลทั้งสองประเทศให้การสนับสนุนและลงทุนด้านการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ไทยมีการสนับสนุนขึ้น ๆ ลง ๆ ตามนโยบายของรัฐบาล ส่วนทิศทางของอุดมศึกษาไทยในอนาคตนั้น มุ่งการผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพสนองความต้องการของตลาด โดยเฉพาะระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกต้องการมากที่สุด ดังนั้นอาจารย์จะต้องมีความหลากหลาย ยืดหยุ่น รู้หลายศาสตร์ เปิดกว้าง หลักสูตรต้องเน้นนวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเป็นหลัก นอกจากนี้ยังเน้นการพัฒนาศักยภาพของคนทั้งประเทศ โดยเน้นเป้าหมายใหม่คือ คนวัยทำงานและผู้สูงวัย ท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนไป อาจารย์และนักวิจัยจึงต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อสร้างความรู้ที่ทันสมัย เพื่อมุ่งนำประเทศไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยมีรายได้ประชาชาติอยุ่ที่ 12,000 เหรียญสหรัฐต่อปี ภายในปี 2030 และหลุดพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลาง “สกอ.กับนักวิจัยรุ่นใหม่จากนี้ไปเราต้องการผลิตบุคลากรด้านวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีศักยภาพในการทำงานวิจัยและพัฒนางานวิจัยในระดับที่สูงขึ้น และผลงานวจัยที่ได้จากโครงการสามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาและการพัฒนาประเทศในระยะยาวต่อไป” Manager online 11.06.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร