Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยเนเธอร์แลนด์พัฒนาวิธีผลิตไฟฟ้าจาก 'แรงดึงดูดโลก  

นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่าวัสดุบางประเภท อาทิ คริสตัล เเละเซรามิกบางชนิด หากเจอกับความแรงกดเชิงกล วัสดุเหล่านี้จะผลิตกระเเสไฟฟ้าปริมาณเล็กน้อยออกมา การผลิตกระเเสไฟฟ้าแบบนี้เรียกว่าเพียโซอิเลคทริคซิตี้ (piezoelectricity) อย่างที่ใช้ในการสร้างประกายไฟแก่ที่จุดไฟเตาบาร์บีคิวเเละคริสตอล ไมโครโฟน (crystal microphones) แต่เพียโซอิเลคทริคซิตี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อแรงดันที่กระทบวัสดุเปลี่ยนจากแรงดันและคลายเเรงลง แต่ในทางตรงกันข้าม เเรงดึงดูดขอโลก เป็นเเรงดันที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ยุนยัพ เราเชนนาร์ส (Janjaap Ruijssenaars) สถาปนิกชาวดัทช์แห่งบริษัทกราฟวิตี้ เอ็นเนอร์จี ลิมิเต็ด (Gravity Energy Ltd.) กล่าวว่าปัญหาของเเรงดึงดูดโลกคือเป็นเเรงดันเพียงอย่างเดียว เราเชนนาร์ส สังเกตุพบว่าหากนำแท่งยาวไปติดแนวตั้งกับจานฐาน และเมื่อออกแรงผลักเสาให้เสียสมดุล เสาจะเกิดการโอนเอนไปมาเป็นเวลานาน สร้างแรงกดลงบนขอบของจานฐาน เราเชนนาร์สกล่าวว่านี่เป็นการคิดค้นเครื่องผลิตไฟฟ้าจากแรงโน้มถ่วงโลก โดยแรงโน้มถ่วงที่ช่วยทำให้เสาโอนเอนไปมาจะเกิดแรงดันต่อจานฐานซึ่งจะถูกแปรให้เป็นกระแสไฟฟ้า วัสดุเพียโซอิเลคทริคที่เสียบเข้าไประหว่างจานฐานที่ขยับไปมากับพื้นที่อยู่คงที่จะผลิตไฟฟ้าออกมาเมื่อได้รับเเรงดันเเละเเรงคลายอยู่อย่างสม่ำเสมอ แท่งเสาที่โอนเอนไปมายังสามารถผลิตไฟฟ้าได้ด้วยเมื่อนักวิจัยทดลองใช้ลมร้อนที่ได้จากหลอดไฟส่องไปที่ใช้ตัวหมุนขนาดเล็กที่ติดอยู่ด้านบนของเสา สถาปนิกชาวดัทช์กล่าวว่าหลักการนี้ยังค่อนข้างใหม่อยู่เเละยังต้องศึกษากันต่อไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตกระเเสไฟฟ้าจากเเรงดึงดูดของโลกเพื่อดูว่าสามารถเพิ่มจำนวนวัสดุเพียโซอิเลคโทรนิคเข้าไปในระบบได้มากแค่ไหน เราเชนนาร์สกล่าวว่าหลักการเดียวกันนี้สามารถนำไปใช้ได้กับการผลิตกระเเสไฟฟ้าในปริมาณที่สูงขึ้นเพื่อชาร์ทแบตเตอรี่รถยนต์หรือใช้กับเครื่องปั่นไฟ Voice of America 17.06.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร