Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'การสังเคราะห์เเสงเทียม' ช่วยผลิตพลังงานสะอาดราคาถูก   

ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าแหล่งพลังงานสะอาดที่ยั่งยืนล้วนเเต่มีข้อด้อย กังหันลมจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมีลมพัดเท่านั้น แผงพลังงานเเสงอาทิตย์จะผลิตพลังงานเมื่อมีเเสงแดด นอกจากนี้ แผงโซล่าร์เซลล์ที่ดีที่สุดและเเพงที่สุด มีประสิทธิภาพเพียงเเค่ 20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ศาสตราจารย์ ดันเหว่ย หวาง (Dunwei Wang) แห่งวิทยาลัยบอสตัน (Boston College) กล่าวว่า นอกจากนี้ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการเก็บกักพลังงานที่ผลิตได้ในระยะยาวอีกด้วย ศาสตราจารย์หวาง กล่าวว่า มีวิธีเดียวที่ทำได้คือการเชื่อมต่อเเผงพลังงานเเสงอาทิตย์เข้ากับแบตเตอรี่ เเต่หากต้องการผลิตไฟฟ้าให้คนทั่วประเทศใช้หรือคนทั้งโลกใช้ ยังไม่มีแบตเตอรี่ที่สามารถรองรับงานนี้ได้ในปัจจุบัน ผู้สื่อข่าววีโอเอ รายงานว่า ธรรมชาติได้สร้างโซล่าร์เซลล์ขึ้นมา พร้อมกับวิธีการจัดเก็บพลังงานที่ได้ โดยใบไม้ทุกใบใช้กระบวนการสังเคราะห์เเสงเพื่อใช้ประโยชน์จากเเสงเเดด โดยเปลี่ยนแสงแดดให้เป็นพลังงานเคมีก่อนจะนำไปใช้หรือเก็บไว้ใช้ในภายหลัง กระบวนการสังเคราะห์แสงตามธรรมชาตินี้ช้าเกินไปสำหรับโลกที่หิวโหยพลังงาน เเต่ศาสตราจารย์หวาง กล่าวว่า ตัวเร่งปฏิกริยาเเบบใหม่ที่ทีมงานกำลังพัฒนาจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการสังเคราะห์เเสงเทียมเเละช่วยให้เราใช้ประโยชน์จากพลังงานจากแสงอาทิตย์ได้ดีมากขึ้น ด้วยการแยกน้ำออกเป็นอ็อกซิเจนเเละไฮโดรเจน ซึ่งอย่างหลังนี้ นำไปใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน ศาสตราจารย์หวาง กล่าวว่า ตัวเร่งปฏิกริยาที่ทีมงานค้นพบ ถือเป็นตัวเร่งปฏิกริยาที่ดีที่สุดตัวหนึ่งที่สามารถลอกเลียนแบบกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ ด้วยการทำให้การแยกอิเลคตรอนจากน้ำง่ายขึ้น ในขั้นตอนผลิตอ็อกซิเจน เเละอิเลคตรอนที่แยกได้สามารถนำไปใช้ในการทำให้น้ำผลิตไฮโดรเจนหรือลดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทีมนักวิจัยชี้ว่ายังจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม เเต่พวกเขาหวังว่าตัวเร่งปฏิกริยาตัวใหม่ที่พัฒนาอยู่นี้อาจนำไปใช้ได้ในระดับอุตสาหกรรม ซึ่งช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากถ่านหินเเละน้ำมันลง Voice of America 17.06.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร