Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

“ดาวเคราะห์น้อยเวสตา” เข้าใกล้โลกมากที่สุดในรอบ 11 ปี  

สดร.ชวนชมวัตถุท้องฟ้าน่าสนใจช่วงครึ่งหลังเดือนมิถุนายน 2561 ดาวเคราะห์ไล่เรียงปรากฏตั้งแต่หัวค่ำทั้ง ดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ และดาวอังคาร ช่วงปลายเดือนดาวเสาร์โคจรมาใกล้โลกอีกครั้งพร้อมกับดาวเคราะห์น้อยเวสตาที่หาชมได้ยาก สังเกตเห็นด้วยตาเปล่าได้ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า นายศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยว่าช่วงครึ่งหลังเดือนมิถุนายน 2561 มีหลากหลายวัตถุท้องฟ้าที่น่าสนใจให้ติดตามกันอย่างต่อเนื่อง สังเกตได้ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าเป็นต้นไป ในช่วงหัวค่ำสามารถสังเหตเห็น 2 ดาวเคราะห์ที่สว่างที่สุดเห็นได้ชัดเจน คือ “ดาวศุกร์” และ “ดาวพฤหัสบดี” "ดาวศุกร์จะปรากฏทางทิศตะวันตกหลังดวงอาทิตย์ตก จนถึงเวลาประมาณ 21.00 น. ส่วนดาวพฤหัสบดีจะปรากฏทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สังเกตได้จนถึงเวลาประมาณ 03.00 น. จากนั้นช่วงดึก “ดาวอังคาร” เริ่มโผล่พ้นจากขอบฟ้าปรากฏทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่เวลาประมาณ 22.00 น. จนถึงรุ่งเช้า" นายศุภฤกษ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในเดือนมิถุนายนยังมีความน่าสนใจอีกประการหนึ่ง คือ “ดาวเคราะห์น้อยเวสตา” จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ และเข้าใกล้โลกที่สุดวันที่ 19 มิถุนายน 2561 ปกติจะโคจรมาใกล้โลกทุกปีแต่ปีนี้เข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 11 ปี นับตั้งแต่ปี 2550 มีระยะห่างจากโลกประมาณ 170.6 ล้านกิโลเมตร จึงมีโอกาสมองเห็นด้วยตาเปล่า "ดาวเคราะห์น้อยเวสตามีค่าความสว่างปรากฏประมาณแมกนิจูด 5.7 ช่วงที่โคจรเข้าสู่ตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ อาจลดลงเหลือเพียงแมกนิจูด 5.3 เท่านั้น โดยค่าความสว่างปรากฏหรือเรียกว่าแมกนิจูด ยิ่งตัวเลขมากความสว่างยิ่งน้อย ค่าความสว่างปรากฏที่ตามนุษย์สามารถมองเห็นได้อยู่ที่ประมาณแมกนิจูด 6 ลงไป หากสังเกตการณ์บริเวณท้องฟ้ามืดสนิท ไม่มีแสงรบกวน อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า" ทั้งนี้ ดาวเคราะห์น้อยเวสตาจะปรากฏในช่วงหัวค่ำ บริเวณกลุ่มดาวคนยิงธนู ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ สังเกตได้ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า สังเกตการณ์ได้จนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 2561 หลังจากวันดังกล่าวจะมีแสงจันทร์รบกวนและความสว่างจะเริ่มลดลงเรื่อยๆ ส่วนช่วงปลายเดือน มิ.ย. ยังมีปรากฏการณ์ “ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี” ในคืนวันที่ 27 มิถุนายน โดยดาวเสาร์จะปรากฏบนท้องฟ้ายาวนานตลอดคืน ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าถึงรุ่งเช้า สังเกตด้วยตาเปล่าชัดเจนตั้งแต่หัวค่ำทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ หากใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดหน้ากล้องตั้งแต่ 4 นิ้ว กำลังขยาย 50 เท่าขึ้นไป จะมองเห็นวงแหวนหลักได้อย่างชัดเจน "สดร. เตรียมจัดกิจกรรมเชิญชวนประชาชนส่องวงแหวนดาวเสาร์ผ่านกล้องโทรทรรศน์หลากชนิด ณ จุดสังเกตการณ์หลัก 4 แห่ง ได้แก่ เชียงใหม่ โคราช ฉะเชิงเทรา สงขลา พร้อมกับโรงเรียนเครือข่ายอีก 360 แห่งทั่วประเทศ" ศุภฤกษ์ระบุ Manager online 19.06.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร