Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ม.ขอนแก่น เร่งวิจัย “อลูมิเนียมไอออนแบตเตอรี” ปลอดภัยสูง ไม่ระเบิด ไม่ติดไฟ ราคาถูก  

ม.ขอนแก่น ร่วมกับ สภาอุตฯ วิจัย “อลูมิเนียมไอออนแบตเตอรี” ราคาถูก ปลอดภัยสูง ไม่เกิดการระเบิด ไม่ติดไฟ อัดประจุได้รวดเร็วในไม่กี่วินาที มีความเสถียรสูง ให้กำลังไฟฟ้าสูง คาดใช้ต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) กล่าวว่า ศูนย์วิจัยนาโนเทคโนโลยีบูรณาการ ม.ขอนแก่น ได้ร่วมหารือกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และภาคเอกชน ดำเนินโครงการวิจัยแบตเตอรีชนิดอลูมิเนียมไอออนแบตเตอรี (Al-ion battery) เพื่อวิจัยพัฒนาและสร้างนวัตกรรม พัฒนาบุคลากรทางด้านวัสดุเพื่อพลังงานที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงวิชาการและเชิงพาณิชย์ให้กับประเทศ สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยในประเทศ ตลอดจนความร่วมมือในระดับนานาชาติ การประชุมครั้งนี้มีการเข้าไปหารือความเป็นไปได้ในการร่วมมือการทำวิจัยด้านแบตเตอรีชนิดดังกล่าวโดยภาคเอกชนได้ให้ความสนใจเข้าร่วมรับฟังการหารือในครั้งนี้เป็นอย่างมาก “ปัจจุบันมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีศักยภาพความพร้อมทางด้านบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง มีองค์ความรู้ที่เพียงพอที่จะดำเนินการ อีกทั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยศูนย์วิจัยนาโนเทคโนโลยีบูรณาการ อยู่ในระหว่างการขอทุนสนับสนุนการวิจัย จากศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในระยะที่ 3 ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ปี คือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 - 2564 คาดว่า จะสามารถร่วมกับเอกชนพัฒนา อลูมิเนียมไอออนแบตเตอรี (Al-ion battery) ได้สำเร็จแน่นอน” ศ.ดร.ศุภชัย กล่าว ศ.ดร.ศุภชัย กล่าวว่า แบตเตอรี่ชนิดอลูมิเนียมไอออนแบตเตอรี (Al-ion battery) มีข้อดีหลายประการ เช่น ธาตุอลูมิเนียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักมีจำนวนมากบนโลก และมีราคาที่ต่ำ ดังนั้น แบตเตอรีที่ผลิตได้จึงมีราคาถูก นอกจากนี้แล้ว แบตเตอรีชนิดนี้มีความปลอดภัยสูงไม่เกิดการระเบิดและไม่ติดไฟ สามารถอัดประจุได้อย่างรวดเร็วในระดับไม่กี่วินาที มีความเสถียรสูงมากสามารถอัดและคายประจุได้มากกว่า 7,500 รอบ ให้กำลังไฟฟ้าสูงประมาณ 3,000 W/kg ซึ่งเทียบเท่ากับตัวเก็บประจุยิ่งยวด และยังสามารถให้ค่าความหนาแน่นพลังงานในระดับ 40 Wh/kg (M. -C. Lin et al., 2015) ด้วยข้อดีทั้งหมดที่ได้กล่าวมานี้ ทำให้แบตเตอรีชนิด Al-ion มีความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในอนาคตและเป็นกุญแจสู่ความสำเร็จของโครงการวิจัยนี้ Manager online 21.06.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร