Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'จุลินทรีย์ในลำไส้' อาจเกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเเละอาการซึมเศร้า   

โรนัลด์ คาน นักวิจัยโรคเบาหวานแห่งภาควิชาการแพทย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด กล่าวว่า เป็นไปได้ว่าความอ้วนหรือระบบเผาผลาญพลังงานในร่างกายมีความเกี่ยวข้องกับความบกพร่องทางจิตเวช เเละจุลินทรีย์ในลำไส้มีบทบาทส่วนหนึ่งต่อระบบเผาผลาญพลังงาน โรคอ้วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบเผาผลาญพลังงาน อาทิ ทำให้ตับ กล้ามเนื้อ ไขมันเเละเนื้อเยื่ออื่นๆ ลดประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อสารอินซูลิน และหากไม่รักษาอาจกลายเป็นโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าคนที่เป็นโรคอ้วนยังวิตกกังวลเเละซึมเศร้ามากกว่าคนทั่วไป จุลินทรีย์ในสำไส้เหล่านี้เปลี่ยนไปตามอาหารที่เรากินเข้าไป เเละนักวิจัยกล่าวว่า จุลินทรีย์ที่แตกต่างกันอาจตอบสนองไม่เหมือนกับต่ออาหารที่รับประทาน เพื่อทดสอบทฤษฎีนี้ ทีมนักวิจัยได้ทดลองกับหนู โดยให้หนูกินอาหารที่มีปริมาณไขมันสูงเเละศึกษาพฤติกรรมของหนูทดลองในขณะที่หนูเริ่มกลายเป็นโรคอ้วน ทีมนักวิจัยได้ใช้วิธีการทดสอบทั่วไปเพื่อวัดดูพฤติกรรมที่เเสดงถึงความวิตกกังวลเเละความซึมเศร้าของหนูทดลอง ยกตัวอย่าง หนูซ่อนตัวอยู่ในกล่องที่มืดนานแค่ไหน เทียบกับระยะเวลาที่หนูใช้ในการออกมาสำรวจในพื้นที่สว่าง ยิ่งหนูทดลองมีความวิตกกังวลมากเท่าใด ก็จะใช้เวลาแอบอยู่ในกล่องที่มืดนานมากขึ้นเท่านั้น หนูทดลองที่เป็นโรคอ้วนใช้เวลาน้อยกว่าหนูทดลองปกติในพื้นที่สว่างราว 25 เปอร์เซ็นต์เ เละการทดสอบอื่นๆ ยังพบด้วยว่าหนูอ้วนยังซึมเศร้าเเละวิตกกังวลกว่าปกติด้วย แต่ความแตกต่างเหล่านี้หายไปเมื่อหนูอ้วนได้รับยาปฏิชีวนะ แม้ว่าน้ำหนักตัวจะไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก นักวิจัยกล่าวว่านั่นเเสดงว่าเป็นไปได้ที่จุลินทรีย์ในลำไส้มีบทบาทในเรื่องนี้ การศึกษานี้ทำให้นักวิจัยสงสัยถึงการตอบสนองของสมองต่อสารอินซูลิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในกระเเสเลือด เเละเพื่อศึกษาว่าสมองส่วนใดที่อาจมีส่วนให้เกิดผลต่อพฤติกรรมแบบนี้ ทีมนักวิจัยได้เน้นศึกษาสมองสองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญพลังงานเเละสวนที่ตอบสนองต่อรางวัล พวกเขาพบว่าสมองสองส่วนของหนูทดลองที่เป็นโรคอ้วน ตอบสนองน้อยต่อสารอินซูลินกว่าสมองของหนูทดลองที่มีน้ำหนักตัวปกติ และเมื่อบำบัดด้วยยาปฏิชีวนะ ความบกพร่องต่างๆ ของหนูทดลองกลับเป็นปกติ นักวิจัยแปลกใจมากต่อผลการศึกษาที่ได้ เพราะคาดไม่ถึงว่าเชื้อจุลินทรีย์มีผลต่อการทำงานของสมองเเละต่อพฤติกรรม แต่นักวิจัยเตือนว่า ยาปฏิชีวนะไม่ได้เป็นตัวบำบัดโรคซึมเศร้า ตัวยาทำลายจุลินทรีย์ทุกชนิดทั้งดีและไม่ดี และการใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นจะนำไปสู่ปัญหาเชื้อโรคดื้อยา เขากล่าวว่า ผลการทดลองกับหนูที่ได้อาจไม่มีผลเดียวกันกับคน หรืออาจจะได้ผลกับคนบางคนเท่านั้น และมาถึงตอนนี้ ทีมงานยังไม่มีหลักฐานที่ยืนยันว่าจุลินทรีย์ที่ดีหรือโพรไบโอติกส์ช่วยบำบัดอาการวิตกกังวล ทีมงานกำลังค้นหาว่า เชื้อเเบคทีเรียในลำไส้ชนิดใดจากหลายร้อยชนิดที่มีคุณสมบัตินี้ Voice of America 01.07.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร