Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กรณีศึกษาจักษุแพทย์ไทย “ผู้ป่วย 3 ราย หายตาบอดด้วยการนวดตา” / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์  

โรคต้อหินเรื้อรัง เป็นโรคที่มีการทำลายขั้วประสาตาไปเรื่อยๆ จนตาบอดในที่สุด ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง ทราบแต่เพียงว่าความดันลูกตาสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่ง ดังนั้นการรักษาจึงมีเป้าหมายในการลดความดันลูกตา ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยา การผ่าตัด หรือการใช้เลเซอร์ อย่างไรก็ตาม ร้อยละ 10 ของผู้ป่วยโรคต้อหินเรื้อรังยังคงตาบอดแม้จะได้รับการรักษาควบคุมความดันลูกตาอย่างดีแล้วก็ตาม ขณะนี้ศูนย์วิจัยโรคต้อหินในต่างประเทศหลายแห่ง กำลังคิดค้นการรักษาในแนวทางทฤษฎีระบบไหลเวียนเลือด และพยายามพัฒนาตัวยาที่จะเพิ่มการไหลเวียนเลือดเข้าไปในลูกตา แต่ยังไม่สำเร็จ อย่างไรก็ตาม ด้วยแนวความคิดของจักษุแพทย์ไทยท่านหนึ่งคือ นายแพทย์สมเกียรติ อธิคมกุลชัย แผนกจักษุวิทยา โรงพยาบาลเอกชัย สมุทรสาคร ได้ค้นพบนวัตกรรมการนวดตา (Palm Pressure therapy) ที่สามารถเพิ่มการไหลเวียเลือดเข้าไปในลูกตา และพบว่าสามารถหยุดการดำเนิน (Progression) ของโรคต้อหินเรื้อรังได้ และยังสามารถฟื้นฟูการมองเห็นในผู้ป่วยที่ตาบอดแล้ว 3 ราย ให้กลับมามองเห็นอีกครั้งหนึ่ง ด้วยแนวทางนี้ คาดว่าจะสามารถพัฒนาเพื่อลดจำนวนโรคที่ทำให้ตาบอดในอนาคตอันใกล้นี้ นวัตกรรมดังกล่าวนั้นคือการใช้ “อุ้งมือ” กดลงที่เบ้าตาจนเห็นแสงแล้วกดค้างไว้ 2 นาทีต่อหนึ่งครั้ง และวันหนึ่งให้ทำหลายครั้งให้ได้มากที่สุด มาประกอบการรักษา ที่จริงเรื่องดังกล่าวนี้ผู้เขียนได้เคยเผยแพร่ในนิตยสารผู้จัดการสุดสัปดาห์ถึง 5 ตอนระหว่างวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - 16 มกราคม พ.ศ. 2558 ในหัวข้อ “ทำไมยังไม่ยอมวิจัยเรื่อง การกดนวดตาเพื่อรักษาโรคต้อหินเรื้อรังและจอประสาทตาเสื่อม !?” (ตอนที่ 1, 2,3, ตอนจบ) ซึ่งมีอุปสรรคทั้งการขัดขวาง การไม่ให้ความร่วมมือ และการต่อต้านการวิจัยเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง มีคำถามว่าทำไมไม่วิจัยเอง ก็เพราะการวิจัยจะต้องกระทำและติดตามผลโดยศูนย์การตรวจวัดและเครื่องมือของจักษุแพทย์ ดังนั้นหากไม่ได้เกิดความร่วมมือกับวงการจักษุแพทย์แล้ว ก็เป็นเรื่องยากที่จะทำให้เกิดงานวิจัยได้ แต่แม้เวลาจะผ่านไป 4 ปี เศษแล้วก็ยังไม่ปรากฏว่าจะเกิดงานวิจัยเพื่อหาข้อเท็จจริงนี้ได้แต่ประการใด ผ่านไป 4 ปีเศษ ในที่สุดวารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2541 ก็ได้ตัดสินใจให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่รายงานผู้ป่วย 3 ราย ที่ตาบอดแล้วกลับมามองเห็นอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเขียนการรายงานโดย นายแพทย์สมเกียรติ อธิคมกุลชัย โดยเป็นลักษณะเป็นรายงานกรณีศึกษา (Case Report) ของผลการรักษาของผู้ป่วยที่ถึงขั้นตาบอดแล้วกลับมามองเห็นได้ 3 ราย สรุปโดยย่อ (รายละเอียดการตรวจทาการแพทย์อ่านได้ที่เอกสารต้นฉบับ) ดังนี้ รายที่ 1 ผู้ป่วยชายไทยอายุ 82 ปี ภูมิลำเนา อยู่ที่ กิ่งอำเภอเขาคิชกูฏ จังหวัดจันทบุรี มีประวัติรักษาต้อหินเรื้อรังตาขวามากว่า 5 ปี ตาซ้ายสูญเสียจากอุบัติเหตุตั้งแต่หนุ่ม รับการรักษาโรงพยาบาลใกล้บ้านด้วยยาหยอดยี่ห้อหนึ่ง ซึ่งติดตามผลและควบคุมความดันตาได้ดีมาตลอด 3 วันก่อนมาโรงพยาบาลตาขวาค่อยๆมืดลงจนดับสนิท จักษุแพทย์ในพื้นที่แจ้งว่า เกิดจากประสาทตาขาดเลือด จากการตรวจในครั้งแรกในหลายมิติได้รับการวินิจฉัยว่าตาบอด “Blindness from advanced POAG” เมื่อได้รับการร้องจากผู้ป่วยและญาติ นายแพทย์สมเกียรติจึงใช้วิธีเปลี่ยนยาหยอดและใช้ยารับประทานยาแล้วสอนใช้วิธีกดดนวดตาดังกล่าวปรากฏว่า ด้วยระบวนการรักษาดังกล่าวประมาณเดือนเศษ ผลการตรวจวัดพบว่าผู้ป่วยสามารถกลับมามองเห็นได้จนใช้ชีวิตได้เหมือนเดิม รายที่ 2 ป่วยหญิงไทย อายุ 60 ปี ภูมิลำเนาอยู่ที่ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีประวัติ 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการตามัวลง เห็นไฟสลัวลง มองหน้าคนดำไปหมด ไม่เห็นรายละเอียดของใบหน้า ไปตรวจรักษาโรงพยาบาล 2-3 แห่ง พบว่าเป็นต้อหิน ความดันลูกตาสูง ทั้งๆที่ใช้ยาลดความดันลูกตาอยู่แล้ว ผลปรากฏว่าผลการใช้การกดนวดตาผสมผสานกับการรักษา ก็พบจากผลตรวจต่อเนื่องตลอดระยะกว่าปีครึ่ง พบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเป็นลำดับ และลดทั้งยาหยอดและลดยารับประทานด้วย รายที่ 3 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 59 ปี ภูมิลำเนาอยู่ที่ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร มีประวัติพบต้อหินทั้ง 2 ตา มาเป็น เวลา 1 ปี รับการรักษาด้วยาหยอดตามาอย่างต่อเนื่อง ประมาณ 3 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ตาทั้ง 2 ข้างค่อยๆบอด แม้จะใช้ยาหยอดตา 2 ชนิด และได้รับการวินิจฉัยว่าตาบอดเป็น Blindness from advanced POAG หลังการเปลี่ยนยาควบคู่ไปกับการนวดตาพบว่าผู้ป่วยความดันตาดีขึ้น ตั้งแต่เดือนแรก จนเวลาผ่านไปการมองเห็นดีขึ้นจนทำให้ผู้ป่วยกลับไปใช้ชีวิตเป็นปกติได้ จากกรณีดังกล่าวนายแพทย์สมเกียรติ อธิคมกุลชัย จึงได้สรุปว่า ผู้ป่วยทั้ง 3 ราย ที่การมองเห็นดีขึ้น จากการรักษาโดยใช้มุมมองและแก้ปัญหาตามทฤษฎีระบบไหลเวียนเลือด ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องใหม่ในวงการจักษุวิทยา โดยเฉพาะประเทศไทย หากได้มีการศึกษาร่วมมือกัน ระดมสมอง มาพัฒนาในแนวทางนี้ อาจนำไปสู่การค้นพบวิธีต่อสู้กับโรคตาบอดได้ดีขึ้นในอนาคต จากการยอมรับและให้ตีพิมพ์โดยวารสารของกระทรวงสาธาณสุขครั้งนี้ ถึงเวลาหรือยังที่ประเทศไทยจะต้องละอคติ ละผลประโยชน์ แล้วช่วยกันแสวงหาข้อเท็จจริง โดยวิจัยเรื่อง การกดนวดตาเพื่อรักษาโรคต้อหินเรื้อรังและจอประสาทตาเสื่อมอย่างจริงจังเสียที Manager online 04.07.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร