Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทีมนักวิจัยในสหรัฐฯ ผลิตน้ำสะอาดจากอากาศในทะเลทราย   

แม้เเต่อากาศในทะเลทรายที่แห้งที่สุดก็มีความชื้นอยู่ แต่ปัญหาคือเราจะสกัดเอาน้ำในอากาศในทะเลทรายได้อย่างไร? ยูจีน คาพูสติน (Eugene Kapustin) นักศึกษาปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบิร์กลี่ย์ อธิบายว่า อุปกรณ์ที่หน้าตาเหมือนกล่องกำลังสกัดน้ำจากอากาศในทะเลทราย ส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์นี้คือผงที่ใช้ เเละผงนี้มีโครงสร้างทางโมเลกุลที่มีคุณสมบัติที่น่าทึ่ง คาพูสติน กล่าวว่า ภายในกล่องนี้มีพื้นที่ว่างซึ่งเต็มไปด้วยโมเลกุลของเเก๊ส อาทิ ละอองระเหยของน้ำที่เข้าไปอยู่ภายในเเละไม่กลับออกมา อุปกรณ์นี้จึงทำหน้าที่เหมือนกับฟองน้ำ เมื่อนำกล่องนี้ไปวางไว้ในทะเลทรายข้ามคืนเพื่อดูดซับเอาความชื้น หลังจากนั้น นักวิจัยนำอุปกรณ์ไปใส่ไว้ภายในกล่องที่ทำจากแผ่นอะคริลิค (plexiglass) เเละนำไปวางไว้ใต้แสงอาทิตย์ ฟาร์ฮาด ฟาทีเอห์ นักศึกษาปริญญาโทแห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลี่ย์ บอกว่า ในขณะที่แสงอาทิตย์ทำให้ผงที่อยู่ในอุปกรณ์ร้อนขึ้น น้ำก็จะเริ่มระเหยออกมาจากกล่อง เเละหยดน้ำจะติดอยู่บนกล่องอะคริลิคที่คลุมอุปกรณ์อยู่ชั้นนอก นักวิจัยกล่าวว่า จะเริ่มเห็นหมอกน้ำเริ่มออกมาเกาะตัวบนผนังกล่องอะคริลิคภายในเวลาครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง เเละเริ่มมากขึ้น เเละกลายเป็นหยดน้ำ เมื่อหยดน้ำมีขนาดใหญ่ขึ้นและหนักขึ้น ก็จะหยดและตกลงไปที่ก้นกล่องที่ใช้รองรับน้ำที่ผลิตได้และสิ่งที่ได้ออกมาคือน้ำดื่มสะอาด ทีมนักวิจัยกล่าวว่า ผงหนึ่งกิโลกรัมใช้ผลิตน้ำได้ได้ประมาณ 175 มิลลิลิตร หรือราวหนึ่งแก้วเล็กๆ และกล่องที่มีขนาดใหญ่ขึ้นจะผลิตน้ำได้มากขึ้นตามไปด้วย ขณะนี้ทีมนักวิจัยกำลังหาทางเพิ่มปริมาณผลผลิตน้ำ โอมาร์ ยาคี (Omar Yaghi) อาจารย์ด้านเคมีที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลี่ย์ กล่าวว่าอุปกรณ์ที่มีดีไซน์ที่เเสนเรียบง่ายนี้ มีข้อดีเพราะไม่ต้องพึ่งกระเเสไฟฟ้า อุปกรณ์นี้ใช้งานได้ทันทีโดยพึ่งเเค่เเสงอาทิตย์อย่างเดียวเท่านั้น ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าเลย สามารถใช้งานได้ในทะเลทรายที่ไม่มีแหล่งพลังงานอื่นๆ นอกเหนือไปจากเเสงอาทิตย์ ทีมงานได้นำอุปกรณ์นี้ไปทดสอบหลายครั้งในทะเลทรายที่รัฐอาริโซน่าเเละพบว่าอุปกรณ์ทำงานมีประสิทธิผลมากที่สุด หากหันกล่องไปทางพระอาทิตย์ตรงๆ เเละคลุมรอบๆ ด้วยดิน อาจารย์ยาคีกล่าวว่า อุปกรณ์นี้น่าจะออกมาสู่ตลาดให้คนได้ใช้กันภายใน 2 – 3 ปี Voice of America 09.07.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร