Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทีมนักวิจัยใช้เส้นไหมพรมสกัดยูเรเนียมจากน้ำทะเล ตั้งเป้าใช้ผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์   

ทีมนักวิจัยใช้เส้นไหมพรมอะครีลิคธรรมดาๆ ที่เราใช้ถักเสื้อกันหนาวพัฒนาเป็นเทคโนโลยีที่สามารถสร้างพลังงานเเก่อนาคตได้ เชียน หวาย ประธานแห่ง LCW Supercritical Technologies กล่าวว่าหลังการทดลองหลายครั้ง ทีมนักวิจัยได้ค้นพบสภาพที่พร้อมที่สุดในการสกัดยูเรเนียมจากน้ำทะเลด้วยเส้นไหมพรมอะคริลิค ในมหาสุมทร มียูเรเนียมอยู่ราว 3 ส่วนต่อหนึ่งพันล้านส่วน เเต่ปริมาณน้อยนิดนี้เมื่อรวมกันเเล้วจะได้ยูเรเนียมที่นำไปทำเป็นเชื้อเพลิงได้ถึงเกือบ 4 พันตัน ซึ่งเพียงพอในการนำไปใช้เป็นพลังงานของเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูได้ต่อไปอีกนานหลายร้อยปี เพื่อค้นหาสภาพที่พร้อมสมบูรณ์ที่สุดในการสกัดยูเรเนียม ทีมนักวิจัยได้ผูกเส้นไหมพรมสีส้มกับพื้นของสระน้ำที่ห้องทดลอง Pacific Northwest National Laboratory ในเมืองซีแอทเติล ทีมนักวิจัยใช้กังหันใบพัดเพื่อทำให้น้ำทะเลไหลเวียนเหนือเส้นไหมพรมเหล่านี้นานหนึ่งเดือน เพื่อเลียนแบบคลื่น ทีมนักวิจัยได้ตรวจสอบเส้นไหมพรมเป็นประจำ เพื่อดูว่ามีสารยูเรเนียมติดอยู่บนผิวหน้าของเส้นไหมพรมมากแค่ไหน แกรี่ จิลล์ นักวิจัยแห่ง Pacific Northwest National Laboratory กล่าวว่า ทีมงานสามารถควบคุมน้ำทะเลโดยใช้น้ำทะเลจากธรรมชาติ ยังสามารถควบคุมอุณหภูมิของน้ำทะเลที่ใช้ได้ด้วย มีการควบคุมการไหลของกระเเสน้ำ ซึ่งสำคัญมากต่อความสามารถในการสกัดยูเรเนียมจากน้ำทะเล หลังจากนั้น ทีมนักวิจัยส่งเส้นไหมพรมไปยัง LCW Supercritical Technologies เพื่อเข้ากระบวนการสกัดผงยูเรเนียม ขั้นตอนนี้สามารถผลิตเค้กเหลืองได้ 5 กรัม ซึ่งเค้กเหลืองนี้เป็นผงละเอียดสีเหลืองเป็นส่วนประกอบหลักของแท่งเชื้อเพลิงที่ใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ปริมาณเค้กเหลือง 5 กรัมอาจดูไม่เยอะ แต่หากเพิ่มระดับการผลิตมากขึ้น ก็จะเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์ของสหรัฐฯ เป็นอย่างมาก ซึ่งมาถึงตอนนี้ ต้องนำเข้ายูเรเนียมเกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณที่ต้องการใช้ทั้งหมด นอกจากนี้ เทคโนโลยีนี้ยังอาจนำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ อีกด้วย เชียน หวาย ประธานแห่ง LCW Supercritical Technologies กล่าวว่าไหมพรมอะคริลิคนี้ยังสามารถนำไปสกัดสารโลหะหนัก โลหะที่มีมูลค่าสูง จึงสามารถใช้งานได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการสกัดเอาสารโลหะหนักที่เป็นพิษออกจากลำน้ำ ในบ่อบำบัดน้ำเสีย เเละยังใช้ในการดูดซับสารโลหะที่มีมูลค่าออกจากแม่น้ำได้ด้วย Voice of America 09.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร