Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ดวงอาทิตย์เข้าสู่ “วัฏจักรสุริยะ” รอบใหม่เร็วกว่าที่คาด  

ดวงอาทิตย์เข้าสู่ “วัฏจักรสุริยะ” – ตลอดช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์พบสัญญาณบ่งบอกหลายประการที่ชี้ว่า ดวงอาทิตย์อาจกำลังเข้าสู่รอบการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่เรียกว่า “วัฏจักรสุริยะ” (Solar cycle) เร็วกว่าที่คาดกันเอาไว้ ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงล่าสุดของจุดมืดหรือจุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sun spot) บ่งชี้ว่าดาวฤกษ์ศูนย์กลางของระบบสุริยะน่าจะได้เริ่มการเปลี่ยนผ่านจากรอบวัฏจักรที่ 24 เข้าสู่รอบวัฏจักรที่ 25 ไปเรียบร้อยแล้ว แต่ผู้เชี่ยวชาญยังไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่ชัด ภารกิจ “แตะ” ดวงอาทิตย์ของนาซา เหตุผล 4 ข้อที่ยานในภารกิจสัมผัสดวงอาทิตย์ไม่มอดไหม้ วัฏจักรสุริยะซึ่งกินเวลารอบละ 11 ปีนั้น คือวงจรความเคลื่อนไหวของการเกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนดวงอาทิตย์ เช่นลมสุริยะ โซลาร์แฟลร์ หรือการปลดปล่อยมวลโคโรนา ซึ่งความเคลื่อนไหวเหล่านี้จะมีน้อยหรือแทบไม่มีเลยในช่วงเริ่มต้นวัฏจักรใหม่ ก่อนจะมีความเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นจนถึงจุดสูงสุดในช่วงกลางวัฏจักร และค่อย ๆ ลดน้อยลงขณะกำลังจะสิ้นสุดวัฏจักรเดิมและเข้าสู่วัฏจักรใหม่อีกครั้ง นักดาราศาสตร์เริ่มนับรอบวัฏจักรสุริยะกันมาตั้งแต่ปีคริสตศักราช 1755 โดยพบว่าการเฝ้าสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอนี้ จะช่วยให้ทำนายความเคลื่อนไหวของดวงอาทิตย์ในรอบวัฏจักรถัดไปได้ล่วงหน้า ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพยากรณ์สภาพอากาศบนโลก รวมทั้งการระวังรักษาระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม ระบบบอกพิกัดจีพีเอส ระบบจ่ายไฟฟ้า รวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างโทรศัพท์และโทรทัศน์วิทยุ ซึ่งเสี่ยงจะได้รับผลกระทบจากการปลดปล่อยพลังงานของดวงอาทิตย์เป็นครั้งคราว ความเปลี่ยนแปลงที่บอกได้ชัดว่าดวงอาทิตย์เข้าสู่รอบวัฏจักรใหม่แล้วหรือยังมีอยู่ 2 ประการ คือจำนวนของจุดมืดบนดวงอาทิตย์ที่ลดน้อยลงจนอาจจะไม่มีเลยติดต่อกันหลายวัน และการกลับขั้วของสนามแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์ ซึ่งก็สามารถสังเกตได้จากความเปลี่ยนแปลงของคู่จุดมืดที่อยู่ในด้านตรงข้ามกันบนดวงอาทิตย์นั่นเอง ทั้งนี้ จุดมืดบนดวงอาทิตย์ไม่ใช่จุดดับ เพราะยังมีอุณหภูมิสูงถึงราว 3,700 องศาเซลเซียส แต่ปรากฎเป็นจุดมืดเพราะสนามแม่เหล็กความเข้มสูงกักเก็บความร้อนเอาไว้ภายในโดยไม่ปล่อยให้ขึ้นมาสู่พื้นผิว จุดมืดจึงเป็นสิ่งที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางแม่เหล็กไฟฟ้าของดวงอาทิตย์ได้ เมื่อราวเดือน ก.ค.ที่ผ่านมา ดวงอาทิตย์ไม่มีจุดมืดปรากฏเลยเป็นเวลาติดต่อกันถึง 32 วัน แสดงถึงการเข้าสู่ภาวะ Solar minimum ที่ดวงอาทิตย์แทบจะไม่มีความเคลื่อนไหวหรือปะทุพลังงานออกมา ส่วนคู่จุดมืดที่อยู่ในบริเวณ AR 2720 นั้นมีการกลับทิศทางการหมุน ซึ่งแสดงถึงการกลับขั้วของสนามแม่เหล็กแล้ว ทั้งยังพบจุดมืดเกิดใหม่ที่มีทิศทางการหมุนแบบเดียวกัน แต่ยังไม่เคลื่อนขึ้นไปอยู่ในละติจูดที่สูงพอตามแบบแผนของวัฏจักรใหม่ เดิมคาดกันว่าดวงอาทิตย์จะเริ่มต้นรอบวัฏจักรสุริยะใหม่ในปีหน้า (2019) ซึ่งจะเป็นวัฏจักรที่ 25 โดยสภาพการณ์ของวัฏจักรก่อนหน้านี้ (24) ถือว่าดวงอาทิตย์มีความเคลื่อนไหวในระดับปานกลาง แต่ก็นับว่าต่ำกว่าเมื่อเทียบกับวัฏจักรในช่วง 30 ปีก่อนหน้านั้น Khaosod online 09.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร