Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักดาราศาสตร์จี้คืนสถานะดาวเคราะห์ให้พลูโต อีกครั้ง  

นักดาราศาสตร์จี้คืนสถานะดาวเคราะห์ให้พลูโต อีกครั้ง – BBCไทย นับเป็นเวลาถึง 12 ปีแล้วที่สหภาพดาราศาสตร์ระหว่างประเทศ (IAU) มีมติให้ถอดดาวพลูโตออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีการเสนอข้อคิดเห็นที่คัดค้านมติดังกล่าวอยู่หลายครั้ง ซึ่งล่าสุดนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันได้เผยแพร่งานวิจัยที่ชี้ว่า เหตุผลข้อหนึ่งของไอเอยูที่ทำให้ดาวพลูโตต้องถูกลดชั้นเป็นดาวเคราะห์แคระนั้น ไม่ชัดเจนหนักแน่นและสมเหตุสมผลมากพอ ทีมนักดาราศาสตร์ที่นำโดย ศ. ฟิลิป เมตซ์เจอร์ จากมหาวิทยาลัย University of Central Florida (UCF) ตีพิมพ์รายงานวิจัยข้างต้นลงในวารสาร “อิคารัส” (Icarus) โดยระบุว่านิยามของดาวเคราะห์ที่ไอเอยูกำหนดขึ้นใหม่เมื่อปี 2006 ในประเด็นที่ดาวเคราะห์จะต้องมี “วงโคจรที่ชัดเจน” (Clear orbit) นั้น เป็นการนิยามที่มีปัญหาและคลุมเครืออย่างมาก ศ.เมตซ์เจอร์และทีมงานได้สืบค้นทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยทางดาราศาสตร์ทั้งหมดในรอบ 200 ปีที่ผ่านมา แต่ไม่พบการใช้ข้อกำหนดเรื่องวงโคจรมาเป็นตัวตัดสินว่า วัตถุในอวกาศอันใดอันหนึ่งถือเป็นดาวเคราะห์หรือไม่ “นับแต่ยุคของกาลิเลโอเป็นต้นมา นักดาราศาสตร์โดยทั่วไปยังคงเรียกดวงจันทร์บริวารเช่นดวงจันทร์ไททันของดาวเสาร์ว่าเป็นดาวเคราะห์อยู่ จนกระทั่งไม่นานมานี้เองจึงเริ่มมีการนิยามความหมายของดาวเคราะห์อย่างตายตัวในทศวรรษ 1950 ซึ่งน่าขำว่าเกณฑ์ล่าสุดที่ไอเอยูใช้มากำหนดนิยามนั้น ไม่เคยมีนักดาราศาสตร์คนใดใช้ในการศึกษาวิจัยมาก่อนเลย” ศ. เมตซ์เจอร์กล่าว นาซาพบ “เนินทรายมีเทน” บนดาวพลูโต คาดดาวพลูโตเกิดจากดาวหางนับพันล้านดวงรวมตัวกัน “เรามีหลักฐานว่างานวิจัยกว่า 100 ชิ้นใช้นิยามของดาวเคราะห์ที่ขัดกับหลักเกณฑ์ของไอเอยูอย่างสิ้นเชิง แต่พวกเขาก็ยังคงใช้มันเพราะว่ามีประโยชน์ในทางปฏิบัติจริง ซึ่งดีกว่าจะมายึดติดกับถ้อยคำเพียงอย่างเดียว”ทั้งนี้ ดาวเคราะห์ตามนิยามของไอเอยูจะต้องเป็นดาวที่โคจรรอบดาวฤกษ์ มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงรักษาตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต (Hydrostatic equilibrium ) หรือการมีรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลมนั่นเอง นอกจากนี้ยังต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 500 ไมล์ (ราว 805 กิโลเมตร) ทั้งต้องมีวงโคจรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียงด้วย “แต่ไอเอยูไม่ได้อธิบายขยายความว่า การมีวงโคจรที่ชัดเจนนั้นคืออะไรกันแน่ เพราะวงโคจรเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน เป็นพลวัตรที่เปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา อันที่จริงหากจะตีความนิยามของไอเอยูแบบตรงตามตัวอักษรแล้ว ก็จะไม่มีดาวดวงใดที่เรียกได้ว่าเป็นดาวเคราะห์เลย” ศ. เมตซ์เจอร์อธิบาย “นิยามของดาวเคราะห์นั้นควรจะมาจากลักษณะที่เป็นแก่นแท้ตามธรรมชาติของมันมากกว่า เช่นขนาดหรือแรงโน้มถ่วงซึ่งทำให้ดาวเคราะห์นั้นมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่หลากหลายเกิดขึ้น ดาวพลูโตนั้นมีทั้งมหาสมุทรใต้พื้นผิว มีชั้นบรรยากาศที่ซับซ้อนหลายชั้น มีสารประกอบอินทรีย์ มีหลักฐานที่ชี้ถึงการมีทะเลสาบในอดีตและดวงจันทร์บริวารหลายดวง ซึ่งเป็นความหลากหลายที่มากกว่าดาวอังคารเสียอีก” “ดาวพลูโตจึงไม่ควรจะถูกตัดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ของระบบสุริยะ เพียงเพราะการนิยามตามอำเภอใจที่ไร้เหตุผลรองรับเช่นนี้” ศ. เมตซ์เจอร์กล่าวทิ้งท้าย Khaosod online 11.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร