Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'สาหร่าย' อาจช่วยให้วัวเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม  

วัวหลายตัวที่ฟาร์มวัวนมในมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเดวิส กินอาหารเช้าที่มีสาหร่ายเป็นส่วนผสม บรีแอนน่า ร็อคกี้ นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยเเห่งนี้ กล่าวว่า ทีมงานนำสาหร่ายผสมกับกากน้ำตาลอ้อยเพื่อให้สาหร่ายมีรสชาติหวานขึ้น ทีมงานจะผสมสาหร่ายให้เข้ากับอาหารสัตว์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะวัวบางตัวจะเลือกเอาสาหร่ายออก แต่วัวบางตัวก็กินทั้งอาหารสัตว์และสาหร่ายเข้าไปทั้งหมด ทีมนักวิจัยทีมนี้กำลังศึกษาว่า การผสมสาหร่ายจำนวนเล็กน้อยเข้าไปในอาหารของวัว สามารถช่วยลดแก๊สมีเทนที่เกิดจากมูลสัตว์ได้หรือไม่ ซึ่งเป็นแก๊สเรือนกระจกชนิดหนึ่งที่ออกมาจากลมหายใจของวัว หรือจากมูลวัว ในการทดลอง วัวสิบกว่าตัวได้กินสาหร่ายทะเลที่ผสมเข้ากับอาหารวัว โดยก่อนให้สาหร่ายแก่วัว ทีมนักวิจัยทดลองในห้องแล็บเสียก่อนเพื่อวัดปริมาณแก๊สมีเทนในตู้หมักที่เลียนแบบการทำงานของกระเพาะวัว มาธายส์ เฮส นักจุลชีววิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย กล่าวว่า ในห้องทดลอง มีตู้หมัก 6 ตู้ที่ทำหน้าที่เหมือนกระเพาะวัว เเละทีมนักวิจัยนำมาตั้งเรียงกันเป็นแถว เเละสามารถทดสอบผลต่อจุลชีววิทยาในกระเพาะอาหารวัวที่เกิดจากส่วนผสมเพิ่มเติมต่างๆ ที่ทีมนักวิจัยใช้ผสมเข้าไปในอาหารเลี้ยงวัว ทีมนักวิจัยยังทดสอบรสชาติเเละคุณค่าทางโภชนาการของตัวอย่างของน้ำนมวัวหลายตัวอย่างอีกด้วย เเละมีการวัดปริมาณเเก๊สมีเทนในลมหายใจของวัวทุกครั้งที่วัวสอดหัวเข้าไปกินอาหารในเครื่องให้อาหาร และทีมนักวิจัยค้นพบว่า ปริมาณแก๊สมีเทนที่ปล่อยออกมาลดลงมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ฟาร์มวัวนมเเละฟาร์มปศุสัตว์อื่นๆ เป็นเเหล่งผลิตแก๊สมีเทนแหล่งสำคัญ เเละรัฐเเคลิฟอร์เนียได้ตั้งกฏระเบียบให้ฟาร์มวัวนมเเละฟาร์มปศุสัตว์ลดปริมาณเเก๊สมีเทนที่เกิดขึ้นลงให้ได้ราว 40 เปอร์เซ็นต์ ภายในปี ค.ศ. 2030 หรืออีก 12 ปีข้างหน้า เออเมียส เคเบรียบ นักวิทยาศาสตร์ด้านวัวนมแห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย กล่าวว่า การลดแก๊สมีเทนลงจะช่วยลดปริมาณแก๊สเรือนกระจกลงตามไปด้วย ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศโลก เเละจะเป็นผลดีแก่คนทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ยังต้องมีการศึกษาวิจัยกันต่อไปเพื่อยืนยันถึงประสิทธิภาพเเละความปลอดภัยของการใช้สาหร่ายผสมในอาหารเลี้ยงวัวนมเพื่อลดแก๊สมีเทน Voice of America 17.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร