Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ต.ค.เปิดเว็บลงทะเบียนเซลล์ต้นกำเนิด  

เครือข่ายนักวิจัยสร้างฐานข้อมูลกลางด้านสเต็มเซลล์ คู่ขนานกับการยกร่างกฎหมายกำกับการใช้ประโยชน์โดยกระทรวงสาธารณสุข รองรับเทคโนโลยีการรักษามาตรฐานใหม่ เผย ต.ค.นี้พร้อมเปิดเว็บไซต์รับลงทะเบียน นายรัฐจักร รังสิวิวัฒน์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวว่า ปัญหาในเชิงการวิจัยและพัฒนาด้านสเต็มเซลล์คือ แหล่งที่มาของสเต็มเซลล์ซึ่งต้องซื้อจากบริษัทเอกชนมาในราคาสูง ทำให้หลายคนพยายามมองหานักวิจัยไทยที่พัฒนาเซลล์ไลน์หรือเซลล์สายพันธุ์ใหม่ๆ เพื่อเป็นแหล่งผลิตภายในประเทศ โดยปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยเพียง 2 แห่งคือ มหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีการสร้างเซลล์ไลน์โดยเฉพาะ “ในฐานะนักวิจัยที่ทำงานด้านสเต็มเซลล์ จึงรวมตัวกันพัฒนาระบบขึ้นทะเบียนเซลล์ต้นกำเนิดประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (ทีเซลส์) จะเป็นระบบจัดเก็บข้อมูลส่วนกลาง รวบรวมนักวิจัยและงานวิจัยด้านสเต็มเซลล์ของไทย” ระบบขึ้นทะเบียนเซลล์ต้นกำเนิดประเทศไทย จะเป็นระบบเว็บไซต์ที่เปิดให้ลงทะเบียนนักวิจัยและสเต็มเซลล์ที่เป็นเซลล์ไลน์ที่พัฒนาขึ้น มีฐานข้อมูลโครงการวิจัยต่างๆ ในด้านสเต็มเซลล์ โดยจะเปิดให้ลงทะเบียนต้นเดือน ต.ค.นี้ ก้าวต่อไปคือการสร้างเครือข่ายนักวิจัย ที่จะเอื้อให้เกิดโครงการความร่วมมือขนาดใหญ่ในอนาคต สร้างผลกระทบสูง มีโอกาสได้รับทุนมากขึ้น เกิดการแบ่งปันองค์ความรู้ เครื่องไม้เครื่องมือ รวมถึงเปิดให้ภาคเอกชนที่สนใจมาร่วมวิจัยอีกด้วย อย่างไรก็ดี แม้จะเป็นการรวมตัวของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยและหน่วยวิจัยต่างๆ แต่ยังขาดหน่วยงานภาครัฐที่จะมาเป็นเจ้าภาพ เพื่อผลักดันระบบให้เป็นระดับชาติ ดังเช่นสหรัฐ ญี่ปุ่น เกาหลี ที่มีรัฐบาลเป็นผู้สนับสนุนหลัก ในขณะที่ยุโรปนั้น เป็นความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ “การขาดเจ้าภาพหรือศูนย์แห่งชาติ กระทบทั้งในวงการวิจัยและพัฒนารวมถึงประชาชนด้วย ทำให้เราไม่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีสเต็มเซลล์ไปถึงผู้ใช้ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และอาจกลายเป็นช่องว่างให้เกิดการใช้สเต็มเซลล์เพื่อการรักษาที่ไม่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานก็เป็นได้ เช่น กรณีการฉีดสเต็มเซลล์รกแกะ ยังไม่เป็นที่ยอมรับทางการแพทย์ว่าช่วยชะลอความเสื่อมของอวัยวะได้จริง ทั้งอาจทำให้เกิดความเสี่ยงที่เซลล์ต้นกำเนิดที่ได้รับการปลูกถ่ายเกิดเป็นเนื้องอกและกลายเป็นมะเร็งหากเซลล์ยังแบ่งตัวอย่างควบคุมไม่ได้” นายรัฐจักร กล่าว Bangkokbiznews 18.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร