Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ปรับปรุงพันธุ์ "ข้าวก่ำ มช." ยับยั้งมะเร็ง-โรคหัวใจ ผลงานวิจัยตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ  

สอว.วิจัยสำเร็จข้าวก่ำล้านนาสายพันธุ์ใหม่ ”ก่ำหอม มช.–ก่ำเจ้า มช.107”กลิ่นหอม มีธาตุเหล็ก สังกะสี และแอนโทไซยานินสูง ยับยั้งมะเร็ง-โรคหัวใจ เผยใช้วิทยาศาสตร์ยกระดับตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ เมื่อวันที่ 19 กันยายน น.ส.ทิพวัลย์ เวชการัณย์ ผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) เปิดเผยว่า อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำการศึกษาวิจัยและพัฒนาข้าวก่ำล้านนา ที่กำลังจะสูญหายไปจากพื้นที่นาภาคเหนือ เพราะคุณลักษณะของเมล็ดข้าวไม่เป็นที่นิยม เพื่อให้ได้ข้าวก่ำสายพันธุ์ใหม่ที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ผู้บริโภคมากขึ้นและอุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ "ทั้งนี้ ได้ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพัฒนาและยกระดับข้าวไทยเพื่อเพิ่มมูลค่าตลอดห่วงโซ่คุณค่า ตั้งแต่ปรับปรุงพันธุ์ข้าว เร่งกระบวนการปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว แปรรูปข้าวเพื่อเพิ่มคุณค่าและต่อยอดเทคโนโลยีด้านข้าวให้กลายเป็นนวัตกรรมข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าวที่มีมาตรฐานและคุณค่าสูงจนเป็นที่ยอมรับ" ด้าน รศ.ดร.ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า ภาคเหนือมีข้าวเหนียวดำพันธุ์หนึ่ง พบคุณลักษณะของพันธุ์ข้าวหลากหลาย เช่น ต้นกล้าที่เจริญเติบโตในแต่ละช่วงอายุมีสีสันแตกต่างกัน ทั้งสีเขียวเข้ม เขียวอ่อน หรือม่วง บางต้นมีกลิ่นหอมของลำต้นและเมล็ด ขณะที่บางต้นไม่มี "จึงทดลองปรับปรุงพันธุ์โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบ Pure Line Selection หรือการคัดเลือกพันธุ์แท้ จนได้ข้าวก่ำสายพันธุ์ใหม่และใช้ขื่อพันธุ์ข้าวก่ำชนิดนี้ว่า "ก่ำหอม มช." ซึ่งมีกลิ่นหอม มีธาตุเหล็ก และแอนโทไซยานินสูง โดยข้าวสายพันธุ์นี้ยังคงอยู่ในขั้นตอนการใช้เทคโนโลยีพัฒนาสายพันธุ์เพื่อให้ได้ข้าวก่ำคุณภาพดีที่สุด ตอบสนองความต้องการของตลาดในอีก 2-3 ปี ข้างหน้า" นอกจากนี้ คณะนักวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร์ มช. ยังได้นำข้าวก่ำสายพันธุ์ “ก่ำดอยสะเก็ด” (พันธุ์พ่อ) ผสมกับข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (พันธุ์แม่) โดยใช้วิธีการปลูกคัดเลือกข้าวลูกผสมแบบสืบตระกูลที่เรียกว่า Pedigree Method of Selection ควบคู่กับการตรวจสอบความหอม การประเมินความสามารถในการปรับตัวและเสถียรภาพจนเกิดเป็นข้าวเจ้าก่ำสายพันธุ์ดีเด่นที่สามารถปลูกในเชิงเกษตรกรรมได้ โดยมีลำต้นสูงประมาณ 143 เซนติเมตร แต่ให้ผลผลิตมากถึง 680 กิโลกรัม/ไร่ เยื่อหุ้มเมล็ดมีสีม่วงดำสนิท ไม่มีสีอื่นปน และเมื่อหุงสุกหรือเย็นแล้วเม็ดข้าวก็ยังคงมีลักษณะนุ่ม "ตั้งชื่อให้กับข้าวก่ำสายพันธุ์นี้ว่า “ก่ำเจ้า มช. 107” พร้อมจดทะเบียนขึ้นเป็นพันธุ์พืชใหม่เมื่อปลายปี 2560 และพร้อมออกสู่ตลาด ซึ่งทั้ง 2 สายพันธุ์มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยในการป้องกันโรคหัวใจ ลดคอเรสเตอรอล ลดน้ำตาลในเลือก ยับยั้งการเจริญเติบโตของมะเร็งกระเพาะ ยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร และยับยั้งการรวมตัวของเกล็ดเลือด" Manager online 19.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร