Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แชมป์โลก “รีไซเคิลขยะ” ยังกระจุกในยุโรป โดยทำได้เกินกว่าร้อยละ 50  

แม้ว่าประเทศต่างๆ จะพยายามโฆษณาชวนเชื่อว่าตนมีผลงานมากมายเกี่ยวกับกิจกรรมการรีไซเคิล เพื่อช่วยโลกลดขยะในทะเล รวมถึงลดภาวะโลกร้อน แต่การจะไปเชื่อว่าจริงหรือไม่ คงต้องมีการสอบทานและพิสูจน์จากหน่วยงาน หรือองค์กรที่เป็นกลางด้วย ไม่ใช่จากผู้ดำเนินการเองแต่เพียงฝ่ายเดียว เมื่อไม่นานนี้ องค์กรที่เรียกว่า European Environmental Bureau หรือ EEB กับ EUROMIA ได้เปิดเผยรายงานที่ประเมินชื่อ Recycling - Who Really Leads the World? : Issue 2 เพื่อปรับปรุงข้อมูลผลการประเมินกิจกรรมการรีไซเคิลทั่วโลก เพื่อให้ข้อมูลที่เป็นกลางว่าประเทศใดกันแน่ในโลกนี้ที่เป็นแชมป์ของกิจกรรมการรีไซเคิลขยะของเสียจริงๆ ผลการจัดอันดับประเทศต่างๆ ในโลก มาจากการนำตัวเลขของขยะที่มี มาคำนวณหาอัตราการทำกิจกรรมการรีไซเคิลของประเทศ Top 10 ด้วยฐานเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบกันได้อย่างเท่าเทียม World Recycling Top 10 หรือ 10 ประเทศที่ติดอันดับสูงสุดของอัตราการทำกิจกรรมการรีไซเคิลขยะ โดยใน 5อันดับแรก คือ เยอรมนี ออสเตรีย เกาหลีใต้ เวลล์ และสวิตเซอร์แลนด์ ตามลำดับ ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประเทศในยุโรป เช่น เบลเยี่ยม สวีเดน สโลวีเนีย เนเธอร์แลนด์ ซึ่งมีเพียงเกาหลีใต้และสิงคโปร์ที่เป็นประเทศจากทวีปเอเชีย สิ่งที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นในการจัดอันดับแชมป์ของประเทศที่ทำกิจกรรมการรีไซเคิลขยะ ของ EUROMIA ครั้งนี้ คือเน้นการเจาะลึกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการรีไซเคิลขยะ และนำงานวิจัยใหม่มาช่วยในการปรับค่าของสัดส่วนของกิจกรรมการรีไซเคิลขยะ ซึ่งมีผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนในผลการจัดอันดับด้วย และรายละเอียดที่เปลี่ยนไป คือ การใส่ใจกับการแยกขยะเชิงพาณิชย์ออกจากขยะจากการก่อสร้าง และคิดขยะระหว่างทางด้วย ไม่ใช่จุดปลายทางของผลผลิตสำเร็จรูปเท่านั้น และมีการปรับตัวเลขที่ไม่สอดคล้องกันบางรายการออกไป ข้อที่น่าสังเกต ประการแรก ประเทศที่มีสัดส่วนของกิจกรรมการรีไซเคิลขยะสูง คือ ประเทศที่เป็นสมาชิกของ OECD ยกเว้นประเทศสิงคโปร์และไต้หวัน ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของกลุ่มใดเลย แต่กลับมีอัตรากิจกรรมการรีไซเคิลขยะสูงกว่า 55% ขึ้นไป ประการที่สอง การจัดอันดับที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ยังถือว่าใหม่ เพราะยังไม่ได้มีการจัดอันดับต่อเนื่องมานานติดต่อกัน จึงอาจจะยังไม่น่าเชื่อถือ และอาจจะยังต้องมีการปรับปรุงวิธีการจัดเก็บข้อมูลและคำนวณให้แม่นยำและน่าเชื่อถือมากขึ้นในอนาคต เพราะคนทั่วไปยังสงสัยในการกระจุกตัวของประเทศที่ทำกิจกรรมการรีไซเคิลขยะในลำดับต้นๆ ว่าดูแปลกๆ อยู่เหมือนกัน ประการที่สาม นอกเหนือจากสัดส่วนของกิจกรรมรีไซเคิลแล้ว องค์กร EUROMIA ยังมีการพัฒนาดัชนีที่เรียกว่า “Recycling Carbon Index” มาก่อนหน้านี้ แสดงผลการจัดอันดับการประหยัดคาร์บอนไดออกไซค์ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริหารจัดการขยะของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น และอัตราส่วนการบริการรีไซเคิลมาก่อนที่จะสร้างผลการจัดอันดับนี้ แต่เป็นระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยคิดเป็นน้ำหนักเป็นกิโลกรัมต่อคน และรวมจำนวนคนในพื้นที่ออกมาเป็นน้ำหนัก เป็นต้น Manager online 23.09.18

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร